skip to main
|
skip to sidebar
...กานจัง...
วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2550
1 ความคิดเห็น:
ผศ.ดร.วิวรรธน์ จันทร์เทพย์
กล่าวว่า...
ใส่เนื้อหาที่เรียนมาเพิ่มอีกมาก ๆ เลย
18 สิงหาคม 2550 เวลา 10:17
แสดงความคิดเห็น
บทความใหม่กว่า
บทความที่เก่ากว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
......แสงสาดส่องจากแม่พิมพ์อันน้อยใหญ่......
......เปรียบครูไทยทั่วทุกทิศที่พร่ำสอน.....
......ฝึกหัดศิษย์เขียนอ่านชาญบทกลอน.....
......มิเกี่ยงงอนงานหนักเบาที่เข้ามา.....
......แม้เหนื่อยยากเท่าใดไม่เคยบ่น........
......หวังให้ศิษย์ทุกคนมีการศึกษา........
.....เป็นกำลังสร้างชาติไทยวัฒนา........
.....ปวงประชาภูมิใจให้เกียรติครู.......
........อันคุณครูคำนี้มีความหมาย
อันหลากหลายคำพูดจะกล่าวถึง
คือผู้ให้ทรัพย์วิชาน่าคำนึง
คือผู้ซึ้งอบรมให้ทำดี
อีกครูนี้เหมือนพ่อแม่คนที่สอง
ครูจึงต้องอดทนต่อหน้าที่เพียรสั่งสอน
เป็นแม่พิมพ์ศิษย์มากมี
เรือจ้างนี้น้ำใจงามนามว่าครู......
บทที่5 ธุรกิจสิ่งพิมพ์
วันพุธ, กันยายน 19, 2007
บทที่ 5 ธุรกิจสิ่งพิมพ์
1.
ธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์สื่อสิ่งพิมพ์เป็นธุรกิจประเภทหนึ่ง ยกเว้นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ออกโดยรัฐ หรือองค์การสาธารณกุศล หรือองค์การการเมือง บางประเภท ซึ่งออกสื่อสิ่งพิมพ์มาเพื่อเผยแพร่แนวนโยบาย ข่าวสาร ความรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยไม่ขายหรือขาย ในราคาถูก ไม่หวังผลในด้านกำไร นอกจากต้องการที่จะเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารไปยังกลุ่มเป้าหมายการจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ต้องใช้ทุนทรัพย์ ยิ่งเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์ด้วยแล้ว ยิ่งต้องใช้ทุนทรัพย์ในการ ลงทุนสูงมาก เช่น ลงทุนเกี่ยวกับเครื่องจักร ยานพาหนะ อาคาร สถานที่ การจ้างบุคลากร วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต เป็นต้น ดังนั้น ผู้ที่ลงทุนหากเป็นเอกชนจำเป็นต้องคำนึงถึงความอยู่รอดของการดำเนินงาน นั่นคือจะต้องมีรายได้ในเบื้องต้น และมีกำไร นอกจากนี้ยังต้องการที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์บางประการที่ได้ตั้งไว้ด้วยการจัดทำธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์จำเป็นจะต้องอาศัยกระบวนการการบริหารงานหรือการจัดการเข้ามาช่วยในการดำเนินงาน เพราะอย่างน้อยการจัดทำธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์จะต้องมีกระบวนการผลิต หรือมีขั้นตอนการจัดทำ เช่น การเตรียมเรื่อง การจัดหน้า การพิมพ์ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีเรื่องการเงินเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย ดังนั้นการดำเนินการธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์จึงจำ เป็นต้องอาศัยการบริหารหรือการจัดการเข้าไปช่วยอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้การบริหารงานเป็นทั้งศาสตร์และเป็นทั้งศิลป์ ในด้านที่เป็นศาสตร์นั้น เป็นเพราะการบริหารงานจะต้องดำเนินไป อย่างมีระบบ มีขั้นตอน และมีหลักเกณฑ์ เช่น จะต้องมีการวางแผนงาน มีการจัดองค์การ มีการอำนวยการ มีการควบคุมงาน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอื่น ๆ อีกด้วยในด้านที่เป็นศิลป์ การบริหารงานจะต้องใช้ผู้บริหารหรือผู้บริหารที่รับผิดชอบ ถ้าผู้บริหารมีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์สูง และรู้จักใช้ทรัพยากรทางการบริหารได้อย่างเหมาะสมกับกาลเวลาและสภาพแวดล้อมแล้ว ก็จะนำความ เจริญก้าวหน้าและความสำเร็จมาสู่องค์การ เช่น ถ้าผู้บริหารมีความสามารถในการปกครองให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา อุทิศกำลังกาย กำลังใจ กำลังปัญญาความสามารถให้กับงานแล้ว องค์การก็จะเจริญก้าวหน้า และนับได้ว่าผู้บริหารมีศิลป์ ในการบังคับบัญชาหรือมีศิลป์ในการเป็นผู้นำ เป็นต้นในการบริหารงานนั้นจะต้องมีองค์ประกอบของการบริหารซึ่งเรียกกันว่า กระบวนการบริหาร ประกอบด้วย
1.การวางแผน (planning) เพื่อให้รู้ว่าจะทำอะไรในเวลาใด และจะทำอย่างไร
2. การจัดองค์การ (organizing) เพื่อให้มีการจัดงานออกเป็นประเภท หรือเป็นหน่วยงาน และแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบของคนที่จะทำงาน
3.การอำนวยการ (directing) เพื่อสั่งการ จูงใจ ชักนำ และจัดระบบการสื่อข้อความในองค์การ เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย
4. การควบคุมงาน (controlling) เพื่อกำหนดมาตรฐานการทำงาน การติดตามผล และการวัดผล การปฏิบัติงาน นอกจากองค์ประกอบหลัก 4 ประการนี้แล้ว อาจจะรวมถึงการจัดกำลังคน (staffing) การจัดรายงาน (reporting) การจัดทำงบประมาณ (budgeting) และการวินิจฉัยสั่งการ (decision making) เข้าไว้ในกระบวนการบริหารด้วย สำหรับตอนนี้จะกล่าวถึงเฉพาะหัวข้อทั้ง 4 ดังกล่าวข้างต้นในหัวเรื่องต่อ ๆ ไป
2.
บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์นักวิชาการหลายท่านได้ให้ทัศนะถึงบทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ไว้ กล่าวคือวัลลภ สวัสดิวัลลภ (2535, หน้า 82) กล่าวว่า “ บทบาทของหนังสือพิมพ์หมายถึงหน้าที่และความรับผิดชอบ ของหนังสือพิมพ์อันมีต่อสังคม หนังสือพิมพ์จึงต้องตระหนักและเข้าใจในภารกิจทั้งสองประการนี้โดยถูกต้องและถ่องแท้ ตลอดเวลา มิฉะนั้นก็ไขว้เขวผิดเพี้ยน ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของหนังสือพิมพ์เพราะอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ สังคมส่วนรวมได้ ”วิชัย พยัคฆโส 1 (2542, หน้า 1) “ สื่อสิ่งพิมพ์มีบทบาทที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศเพราะสื่อสิ่งพิมพ์ได้ เสริมสร้างบทบาทพื้นบานด้านการศึกษา สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองควบคู่กันไป บางครั้งมีผู้กล่าวว่า ความเจริญ ของประเทศใดอาจวัดได้จากปริมาณการบริโภคกระดาษของชนในชาตินั้นเป้นองค์ประกอบหนึ่ง สำหรับประเทศไทย เช่นเดียวกัน บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ได้มีบทบาทสูงยิ่งในการพัมนาประเทศมาจนปัจจุบันและในอนาคตต่อไปอย่างไม่มี ที่สิ้นสุดประธานคณะมนตรีสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ นายกสมาคมส่งเสริมวิชาการพิมพ์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการ บริษัท คัมปาย อิมเมจจิ้งจำกัด และผู้อำนวยการองค์การค้าคุรุสภาจันทนา ทองประยูร (2537. หน้า 14) กล่าวว่า “ เมื่อเทคโนโลยีทางการพิมพ์เจริญก้าวหน้าจนถึงขั้นมีการ ประดิษฐ์เครื่องจักรและอุปกรณ์ทางการพิมพ์ที่ทันสมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การพิมพ์จำนวนมากในระยะเวลาอันรวดเร็วทำให้สิ่งพิมพืมีบทบาทมากมายในชีวิตประจำวันของมนุษย์ ตั้งแต่การใช้สื่อสิ่งพิมพ์เป็นแหล่งให้ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ความบันเทิง เป็นแหล่งข้อมูลที่มนุษย์ใช้ประกอบการตัดสินใจ ฯลฯ สิ่งพิมพ์นอกจากจะมีบทบาทอย่างมากในชีวิติประจำวันระดับบุคคลแล้ว ยังมีบทบาทอย่างมากต่อการพัฒนาบ้านเมือง ต่อความเจริญทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมด้วย ”อนันต์ธนา อังกินันทน์ (2539, หน้า 260) กล่าวว่า “ สื่อสิ่งพิมพ์มีบทบาทอย่างสำคัญในสังคมทั้งทาง ด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ไม่ว่าจะศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และการมรอิทธิพลที่แตกต่างไปจากสื่อมวลชนประเภทอื่นๆ ……. อาจสรุปบทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีต่อสังคมได้ 3 ประการคือ บทบาทในการพัฒนาการเมือง การพัฒนาเศรษฐกิจ และการพัฒนาสังคม ”สุรัตน์ นุ่มนนท์ (2539, หน้า 60) กล่าวว่า “ สื่อสิ่งพิมพ์มีส่วนช่วยให้การดำรงชีวิตของมนุษย์เปลี่ยนแปลง ไปอย่างมากจากยุคปราศจากสิ่งพิมพ์ สามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ เพื่อนำไปประกอบอาชีพด้วยการเรียนรู้จากหนังสือ …. อย่างไรก็ตาม แม้สื่อสิ่งพิมพ์จะสามารถสร้างคุณประโยชน์ให้แก่มนุษย์ได้หลายประการ แต่ก็สามารถชักนำไปในทางที่ผิด ได้จนเป็นการทำลายสังคม ….. แต่โดยคุณประโยชน์ส่วนรวมแล้ว สื่อสิ่งพิมพ์ได้เข้ามามีส่วนช่วยเหลือให้การดำรงชีวิต ของมนุษย์ดีขึ้น รวมทั้งได้ช่วยแนะนำแก้ไขปัญหาสังคมในด้านต่างๆ ”นันทา วิทวุฒิศักดิ์ (2537, หน้า 208) กล่าวว่า “ สิ่งพิมพ์สามารถช่วยส่งเสริมบุคคลิกภาพและความรู้ ความสามารถ ทำให้แต่ละคนรู้ว่าควรจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะมีชีวิตอยู่อย่างสมบูรณืและมีความสุข ในด้านสิ่งพิมพ์อื่นๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร และจุล จุลสาร ก็เอื้ออำนวยต่อการศึกษา หนังสือพิมพ์นอกจากให้ความรู่เรื่องราวข่าวสาร ประจำวันแล้ว ยังเป็นเครื่องมือทางการศึกษา และยังเป็นข้ออ้างอิงอีกด้วย วารสารเสนอเหตุการณ์และบทความวิชาการ ที่ทันสมัย ซึ่งให้ประโยชน์ได้เต็มที่แล้ว วารสารเชิงวิชาการยังใช้สำหรับค้นคว้าอ้างอิงเสมือนตำราได้ตลอดไป ทฤษฎีต่างๆ ที่มีผู้คิดขึ้นมามักจะตีพิมพ์ในวารสารก่อนเสมอ สำหรับจุลสารมีประโยชน์ในแง่ของการเสนอเรื่องราวที่เป็นประโยชน์อื่นๆ เฉพาะอย่าง ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา การเกษตร การเมือง การปกครอง การพัฒนาตนเอง พัฒนาสังคม และพัฒนาประเทศ ”
3.
แนวโน้มของสื่อสิ่งพิมพ์แนวโน้มของสื่อสิ่งพิมพ์ความเปลี่ยนในด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร นับเป็นปัจจัยสำคัญยิ่งสำหรับวงการสื่อที่มีความเกี่ยวข้องกับข่าวและ ข่าวสาร ซึ่งแม้ดูเหมือนว่า ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้จะค่อยเป็นค่อยไป แต่ด้วยความแพร่หลายไปทั่วของเทคโนโลยี การสื่อสารหลากหลายชนิด เช่น คอมพิวเตอร์ ดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร โครงข่ายโทรศัพท์ อุปกรณ์ภาพและเสียง ที่มีต่อ “ สื่อมวลชนแบบดั้งเดิม ” (traditional media) เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ มีผลให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า “ การปฏิวัติแห่งระบบตัวเลข ” (digital revolution) ทำให้ข้อมูลข่าวสารไม่ ว่าจะอยู่ในรูปลักษณ์ใด เช่น ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว รูปภาพ หรืองานกราฟิก ได้รับปรับเปลี่ยนให้เป็นภาษาอีก ชนิดหนึ่งเป็นรูปแบบเดียวกันทั้งหมด คือสามารถอ่านและส่งผ่านได้อย่างรวดเร็วด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วยังสามารถ นำเสนอในลักษณะใดก็ได้ ตามความต้องการใช้งานของผู้ใช้งาน ความเปลี่ยนแปลงนี้ถูกเรียกขานว่า “ การทำให้เป็น ระบบตัวเลข ” หรือ “ ดิจิไทเซชั่น ” (digitization)ด้วยระบบที่มีการทำให้เป็นระบบตัวเลขนี่เอง เป็นปัจจัยอันสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้เกิด “ สื่อใหม่ ” (New Media) เกิดขึ้น ซึ่งเป็นสื่อที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกับระบบตัวเลข เครื่องคอมพิวเตอร์ และระบบการสะท้อนกลับ หรือ “ อินเตอร์แอคทีฟ ” (interactive) คาดว่าสื่อใหม่จะสามารถตอบสนองความต้องการของ “ ผู้แสวงหาข่าวสาร ” (seeker) ได้มีประสิทธิภาพมากกว่าสื่อมวลชนแบบดั้งเดิม เนื่องจากสื่อใหม่ไม่มีข้อจำกัดในด้านเวลา (time) และเนื้อที่ (space) เหมือนอย่างเคยเป็นข้อจำกัดของสื่อมวลชนแบบดั้งเดิมมาก่อนตัวอย่างข้อจำกัดของสื่อมวลชนแบบดั้งเดิมประเภทหนังสือพิมพ์และนิตยสาร คือ เนื้อที่มีจำกัดสำหรับข่าว ข้อมูลข่าวสาร และการโฆษณา เช่นเดียวกันกับข้อจำกัดในด้านเวลาออกอากาศของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ อย่างไรก็ตาม สื่อใหม่ก็มีข้อจำกัดตรงที่ไม่ได้เป็นการตีพิมพ์ข้อมูลข่าวสารลงบนกระดาษ รวมทั้งไม่ได้เป็นการออก อากาศรายการวิทยุแลโทรทัศน์ไปยังผู้คนจำนวนมากมายในเวลาที่แน่นอน แต่ข้อมูลข่าวสารได้ถูกบันทึกไว้ในระบบตัวเลข จำนวนมากจะสามารถตอบสนองผู้แสวงหาข้อมูลข่าวสารได้ ก็ต่อเมื่อพวกเขามีความต้องการสื่อใหม่แล้วหาได้จากหน้าจอ ของเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น ( ในอนาคตอันใกล้นี้ อาจพัฒนามาเป็นการนำเสนอผ่านทางหน้าจอเครื่องรับโทรทัศน์ได้ เช่นเดียวกัน )อาจกล่าวได้ว่า ขณะที่สื่อมวลชนแบบดั้งเดิมส่งข้อมูลข่าวสารให้กับผู้รับในลักษณะที่เป็น “passive receivers” แต่ผู้รับสารของสื่อใหม่เป็นผู้รับสารที่มีลักษณะ “active seeker” คือเป็นฝ่ายแสวงหาข้อมูลข่าวสารด้วยตนเอง ตามความสนใจและความสงสัยอยากรู้อยากเห็นของตัวเองโดยอิสระเสรี ดังนั้น ข้อมูลข่าวสารใดๆ ที่ไม่สามารถหาได้จาก สื่อมวลชนแบบดั้งเดิม เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ ก็สามารถหาได้จากสื่อใหม่นี้ ได้โดยไม่มีขีดจำกัด
4.
อะไรคือสื่ออะไรคือสื่อใหม่สิ่งที่เราเรียกว่าเป็น “ สื่อใหม่ ” หมายถึง ระบบการสื่อสารหรือเชื่อมต่อทางอิเล็กทรอนิกส์ของเครือข่ายในระดับโลก ได้แก่ เครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet) บริการระบบเวิลด์ไวด์เวบ (World Wide Web : WWW) บริการข้อมูล ออนไลน์เชิงพาณิชย์ (Commercial on-line service) เป็นต้นสื่อใหม่เปิดโอกาสให้องค์กรด้านข่าวสารแบบดั้งเดิม ธุรกิจขนาดใหญ่และขนาดย่อม องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร องค์กรภาคเอกชน นักเรียน นักศึกษา นักวิชาการ กลุ่มผู้สนใจเฉพาะ และชุมชนทุกประเภททุกระดับจากทั่วโลก สามารถเป็น “ ผู้ส่งสาร ” ( ข่าวและข้อมูลข่าวสาร ) ให้แก่ผู้รับสารทั่วโลก ที่มีจำนวนมากจนไม่อาจคาดคะเนจำนวนได้ (virtually worldwide audience) คำว่า “ สื่อใหม่ ” (New Media) เป็นการจุดประกายมุมมองใหม่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับข้อมูล ข่าวสาร ซึ่งบทบาทของสื่อใหม่อาจทำให้ ให้ความสัมพันธ์เดิมเปลี่ยนแปลงไปในขณะนี้บางสิ่งบางอย่างเกิดการ เปลี่ยนแปลงขึ้นแล้ว แม้สื่อใหม่นี้ไม่ได้ลดความสำคัญ (abandoning) หรือเข้ามาแทนที่ (replacing) รูปแบบดั้งเดิมของสื่อ แต่เป็นไปได้ว่าสื่อใหม่จะช่วยขยายศักยภาพและประสิทธิภาพให้กับสื่อดั้งเดิมเท่าที่จะเป็นไปได้
5.
ปัจจัยสู่ยุคสื่อใหม่อะไรคือสื่อใหม่สิ่งที่เราเรียกว่าเป็น “ สื่อใหม่ ” หมายถึง ระบบการสื่อสารหรือเชื่อมต่อทางอิเล็กทรอนิกส์ของเครือข่ายในระดับโลก ได้แก่ เครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet) บริการระบบเวิลด์ไวด์เวบ (World Wide Web : WWW) บริการข้อมูล ออนไลน์เชิงพาณิชย์ (Commercial on-line service) เป็นต้นสื่อใหม่เปิดโอกาสให้องค์กรด้านข่าวสารแบบดั้งเดิม ธุรกิจขนาดใหญ่และขนาดย่อม องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร องค์กรภาคเอกชน นักเรียน นักศึกษา นักวิชาการ กลุ่มผู้สนใจเฉพาะ และชุมชนทุกประเภททุกระดับจากทั่วโลก สามารถเป็น “ ผู้ส่งสาร ” ( ข่าวและข้อมูลข่าวสาร ) ให้แก่ผู้รับสารทั่วโลก ที่มีจำนวนมากจนไม่อาจคาดคะเนจำนวนได้ (virtually worldwide audience) คำว่า “ สื่อใหม่ ” (New Media) เป็นการจุดประกายมุมมองใหม่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับข้อมูล ข่าวสาร ซึ่งบทบาทของสื่อใหม่อาจทำให้ ให้ความสัมพันธ์เดิมเปลี่ยนแปลงไปในขณะนี้บางสิ่งบางอย่างเกิดการ เปลี่ยนแปลงขึ้นแล้ว แม้สื่อใหม่นี้ไม่ได้ลดความสำคัญ (abandoning) หรือเข้ามาแทนที่ (replacing) รูปแบบดั้งเดิมของสื่อ แต่เป็นไปได้ว่าสื่อใหม่จะช่วยขยายศักยภาพและประสิทธิภาพให้กับสื่อดั้งเดิมเท่าที่จะเป็นไปได้
6.
ความเปลี่ยนแปลงของสื่อสิ่งพิมพ์ตารางเปรียบเทียบสื่อมวลชนแบบดั้งเดิมกับสื่อใหม่สื่อมวลชนแบบดั้งเดิม(TRADITIONAL Mass Media)สื่อใหม่ (New Media)เน้นตอบสนองชุมชนชัด (Geographically Constrained)ถูกผลักดันให้ตอบสนอง ต่อความต้องการของตลาด การหาส่วนแบ่งตลาดจาดผู้รับสารในท้องถิ่นไม่สนใกล้ไกล (Distance Insensitive)ถูกผลักดันให้ตอบสนองความต้องการ ,ความสนใจ , ไม่สนใจความใกล้ไกลของผู้ใช้งาน , จำเพาะเจาะจงหัวข้อองค์กรหลายระดับชั้น (Heriarchincal)ข่าวสารข้อมูลผ่านระดับชั้นแนวตั้งของผู้เฝ้าประตูข่าวสารและคัดเลือกข่าวโดยมืออาชีพกระจายแนวราบ (Flattened)ข่าวสารข้อมูลมีศักยภาพที่จะแพร่กระจายแนวราบ , โดยไม่ใช่มืออาชีพไปยังกลุ่ม ลักษณะคล้ายกันมุ่งทิศทางเดียว (Undirectional)การแพร่กระจายของข่าวสารข้อมูลเป็นแบบทางเดียว , มีผลสะท้อนกลับชัดเจนเชิงปฏิสัมพันธ์ (Interactive)ผลสะท้อนกลับ ทันทีทันใด ไม่มีการตรวจสอบแก้ไข , การอภิปรายโต้แย้งมีมากกว่าการตรวจแก้ และแสดงความคิดเห็นข้อจำกัดด้านพื้นที่ / เวลา(Space/Time Constrained) หนังสือพิมพ์ จำนวนพื้นที่ วิทยุ - ทีวี จำกัดด้วยเวลาไร้ขีดจำกัดพื้นที่และเวลา(Less Space/Time Constrained)ข่าวสารข้อมูลอยู่ในรูปดิจิตอล , ระบบไฮเปอร์เท็กซ์ให้ข้อมูลไม่จำกัดนำเสนอโดยนักสื่อสารมวลชน(Professional Communicators)นักวารสารศาสตร์ ผู้สื่อข่าวผู้เชี่ยวชาญ ได้คุณภาพตรงกับงานสื่อสารมวลชนแบบเดิมนำเสนอโดยมือสมัครเล่น(Amateur/Non-professional)ใครก็ได้มีทรัพยากรที่จำเป็นพรอมก็เสนอผลงานบนเวบได้ รวมทั้งมือสมัครเล่นสื่อมวลชนแบบดั้งเดิม(TRADITIONAL Mass Media)สื่อใหม่ (New Media) ต้นทุนสูงมาก (Hing Access Costs)ต้นทุนเริ่มสูงเกินกว่าความสามารถของคนส่วนใหญ่ ที่จะดำเนินการได้เองต้นทุนน้อยกว่ามาก (Low Accecc Costs)ต้นทุนในการตีพิมพ์ , ออกรายการวิทยุ, ทีวีบนอินเตอร์เน็ต มีความเป็นไปได้สูงสำหรับคนทั่วไปให้ความสนใจทั่วๆไป (General Interest)กลุ่มเป้าหมายหลักของสื่อมวลชน กว้างมากทำให้ต้องนำเสนอหลากหลายตามใจผู้ใช้ (Customized)มีข้อจำกัดด้านพื้นที่และเวลาน้อยมาก เน้นตอบสนองตลาดน้อย ทำให้ตอบสนองผู้ใช้ได้เจาะจงความสนใจมากกว่ามีลำดับของเนื้อหา (Linearity of Content)ข่าวสารข้อมูลได้รับการจัดลำดับอย่างมีเหตุผล มีลำดับความสำคัญของข่าวไม่มีลำดับของเนื้อหา (Non-Linearity of Content)ข่าวสารข้อมูลถูกเชื่อมไว้ด้วยระบบไฮเปอร์เท็กซ์ การสืบค้นขึ้นกับความสนใจ ตอบสนองได้ดีกว่าเหตุและผลลักษณะผลสะท้อนกลับ (Feedback)จดหมาย - โทรศัพท์ถึงบรรณาธิการ ,ซ้ำต้องใช้ความพยายามมาก , ปรับแก้ได้ก่อน , ไม่รุนแรง , มีพื้นที่ - เวลาจำกัดลักษณะผลสะท้อนกลับ (Feedback)อี - เมล์ , ฝากไว้ที่กลุ่มข่าว , เปรียบเทียบง่ายรวดเร็ว , ไม่มีปรับแก้ก่อน , มีความรุนแรงแรงขับจากโฆษณา (Advertising Driven)ต้องเอาหาผู้อ่านจำนวนมากเพื่อการโฆษณาและทำรายได้แหล่งทุนหลากหลาย (Diverse Funding Sources)โฆษณามีมาก , ผู้สนับสนุนยินดีกับกลุ่มผู้รับสารจำนวนน้อยมีพันธะกิจสถาบัน (Institution Bound)บริหารจัดการโดยบริษัทขนาดใหญ่ องค์กรรวมศูนย์กระจายตัว (Decentralized)เทคโนโลยีเอื้ออำนวยกระบวนการผลิต การกระจายข่าวสารข้อมูลโดยคนทั่วๆ ไป และขยายกว้างขวาออกไปรูปแบบตายตัว (Fixed Format): เนื้อที่ที่นำเสนอขึ้นอยู่กับลักษณเฉพาะของตัวสื่อ ( พื้นที่ / เวลา )รูปแบบยืดหยุ่น (Fixeble Format)เนื้อหารเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา , ทันสมัย , ถูกต้อง , แก้ไขได้ , มีบริการมัลติมีเดียจากสื่อตัวเดียวประเมินคุณค่าข่าวตามหลักวารสารศาสตร์ (News Values, Journslistic Standard)เนื้อหามีกระบวนการผลิต ที่อิงกับการประเมินคุณค่าข่าว โดยยึดถือตามแบบแผนและจรรยาบรรณมาตรฐานที่สร้างสรรค์ (Formative Stadard)ข่าวสารข้อมูลมีแบบแผนและคุณค่าไม่ชัดเจน , กระบวนการผลิต การพิจารณาขึ้นอยู่กับคุณธรรมและความเชื่อส่วนบุคคลจากตารางจะเห็นได้ว่าสิ่งที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง และจะเป็นประเด็นหลักให้นักสื่อสารมวลชนต้องขบคิดก็คือ การประเมินคุณค่าของข่าว แบบแผนและมาตราฐานของวารสารศาสตร์ในการนำเสนอข่าวนั้น นักวารสารศาสตร์ถูกตั้ง ความหวังให้ยึดถือจริยธรรมแห่งวิชาชีพและมาตรฐานของวารสารศาสตร์ ความสมดุลระหว่างการสร้างโอกาสทางธุรกิจที่ สร้างสรรค์ของสื่อใหม่กับการทำหน้าที่ตอบสนองความต้องการของสาะารณชนได้รับการเรียกร้องจาก ผู้รับสารต่อสถาบัน ด้านข่าว ที่เติบโตขึ้นมาเป็นบริษัทใหญ่เช่นเดียวกัน
7.
การปรับตัวของนักสื่อสารมวลชนการปรับตัวของนักสื่อสารมวลชนคำถามต่อไปนี้เป็น “ เครื่องมือ ” ที่น่าจะเป้นการเปิดประเก็นหัวข้อให้ได้นำไปขบคิดและศึกษาวิจัยกันอีกได้ไม่น้อย โดยยังสามารถเป้นกรอบการคิดเชิงวิพากษ์เกี่ยวกับผลกระทบและผลที่จะตามมาจากสื่อใหม่ ซึ่งครอบคลุมในหลายประเด็น ได้แก่ วิชาชีพสื่อสารมวลชน การสร้างสรรค์ชุมชน จริยธรรม และเศรษฐศาสตร์ ซึ่งการเพียรตั้งคำถามและ หาคำตอบต่อประเด็นเหล่านี้เป้นหนทางนำไปสู่ความเข้าใจในสื่อใหม่อย่างลึกซึ้ง (new media literacy)- กระบวนการพัฒนาขอสื่อใหม่ซึ่งทำให้ผู้รับสารได้รับข่าวสารที่เจาะจงความต้องการของตัวเอง (customized) ได้มากขึ้นนั้น อะไรคือข้อเด่นประโยชน์ที่จะตามมาจากความสามารถในการเลือกข่าวสารเจาะจงจากสื่อได้ด้วยตัวเองของ ผุ้รับสาร และอะไรคือข้อด้อย และการเพิ่มขึ้นของแนวโน้มนี้จะมีผลให้ความไมาพิธีรีตรองของประชาชนลอน้องลวหรือไม่ การอภิปรายทั้งเชิงสนับสนุนและคัดค้านในการพัฒนาเหล่านี้ค่อยๆ เพิ่มโอกาสให้กับระบบข่าวสารและข้อมูลข่าวสารในระบบตัวเลข- จะทำอย่างไรเพื่อให้สามารถเข้าถึงการสื่อสารระบบใหม่และเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร เช่น อินเตอร์เน็ต บริการข้อมูลออนไลน์เชิงพาณิชย์ ช่องว่างของข้อมูลข่าวสารระหว่างมีกับไม่มีกำลังอยู่ในภาวะอันตรายใช่หรือไม่ ถ้า ไม่เช่นนั้นแล้ว เราจะแก้ไขปัญหานั้นอย่างไร- รัฐบาลควรมีบทบาทหรือไม่อย่างไรในการควบคุมอินเตอร์เน็ต อะไรคือทิศทางของอินเตอร์เน็ต สภาวะของ สื่อใหม่กำลังเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว แนวทางการที่มีประสิทธิภาพในการใช้ประโยชน์จากการพัฒนาของสื่อใหม่- สถาบันที่เคยผลิตข่าวสารแบบดั้งเดิมควรรู้สึกว่าได้รับการดูแลจากการเกิดขึ้นของสิ่งใหม่ใช่หรือไม่ สื่อแบบดั้งเดิม กำลังจะล้าสมัยใช่หรือไม่ หรือการกล่าวถึงสื่อใหม่ในเวลานี้รวดเร็วเกินไปใช่หรือไม่- เราจะได้รับความสะดวกสบายจากระบบการสื่อสารระดับโลกอย่างไรบ้าง ความสะดวกนี้จะรวมไปถึงการสื่อสาร ระหว่างบุคคล เช่น การพูดคุยกับคนอื่นๆ ผ่านทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งโอกาสเรียนรู้สิ่งใหม่ เช่น เกี่ยวกับต่างประเทศ วิทยาการและวัฒนธรรมโดยการเข้าถึงข่าวสารต่างประเทศจากคอมพิวเตอร์ใช่หรือไม่- บางประเด็นที่อินเตอร์เน็ตถูกวิจารณ์ว่า แม้อินเตอร์เน็ตให้ข้อมูลข่าวสาร ขณะเดียวกันก็สร้างความยุ่งยากในการ แสวงหาข่าวสารและข้อมูลข่าวสารที่สำคัญ ให้กับผู้ใช้ เพราะจำนวนข้อมูลข่าวสารที่มีมากเกินไป ข้อมูลข่าวสารที่สำคัญๆ ไปจมหายในส่วนเกิน คุณเห็นด้วยหรือไม่สื่อใหม่จะถูกนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการ “ สร้างสรรค์ค์ชุมชน ” (community building) ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และช่วยแก้ปัญหาชุมชนหรือไม่ อย่างไร - “ การสื่อสารที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อ ” (computermediated communication : CMC) ไม่ได้ช่วยให้ สังคมเข้มแข็งจริงหรือ จะลดความสำคัญของการสื่อสารแบบพบหน้า หน้าค่าตา (face-to-face) และนำไปสู่ภาวการณ์ ต่อต้านสังคม (anti-social) การสื่อสารที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อจะทำให้ผู้คนหลงใหลติดใจใช่หรือไม่ - ธรรมชาติของการสื่อสารโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อซึ่งไม่เปิดเผยซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เป็นทางนำไปสู่อาชญกรรมอย่างกว้างขวางขึ้น เช่น เครือข่ายการค้ายาเสพติด ผู้ก่อการร้าย ภาพลามกอนาจารของเด็กจะ แพร่หลาย รวมทั้งการละเมิดลิขสิทธิ์ สมมติฐานเหล่านี้เป็นสิ่งที่อยู่คุณคิดว่าต้องทำให้ถูกกฎหมายใช่หรือไม่ และควรเริ่มต้น อย่างไร- ผู้คนจะคิดและมีพฤติกรราการสื่อสารแตกต่างกันไปเมื่ออยู่ใน “ ภาวะเสมือนจริง ” (virtualenvironments) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบรรยากาศของการสื่อสารโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อ- สื่อใหม่ควรได้รับการสนับสนุนทางด้านเงินทุนอย่างไร รูปแบบของการจัดหาเงินทุนมีลักษณะอย่างไร และข้อเด่น ข้อด้อยของแต่ละรูปแบบมีอย่างไรบ้าง- ประโยคที่มีการพูดกันมานานว่า “ ใครก็เป็นผู้พิมพ์ผู้โฆษณาบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ ” จะทำให้มีผลกระทบต่อ วิชาชัพและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับข่าวสารอย่างไร มาตรฐานของความถูกต้อง (accuracy) และความเชื่อถือ (reliability) ความมีคุณธรรม (integrity) ของข่าวสารและข่าวสารจะถูกตำหนิได้ง่ายขึ้นหรือไม่- สื่อใหม่จะมีผลลึกซึ้งต่อตลาดมวลชน (mass market) หรือไม่ โดยเฉพาะจะใช้เทคโนโลยีใหม่ในการ โน้มน้าวกลุ่มประชากรที่มีมากกลุ่มได้อย่างไร- โฉมหน้าความเป็นไปได้ในอนาคตของสภาพการสื่อสารในช่วง 5 ปี 10 ปี 20 ปี และ 50 ปีข้างหน้าจะเป็นอย่างไร ในท่ามกลางการแข่งขันกับการเข้าควบคุมภาวะสื่อใหม่ ใครคือ ผู้ชนะใครคือผู้แพ้ ภาครัฐบาล ภาคเอกชน หรือประชาสังคม (civil society) กันแน่- รูปแบบของการสื่อสารมวลชนแบบดั้งเดิมที่ได้อธิบายถึงผู้ส่งสารหรือแหล่งสารเดี่ยวๆ การแพร่กระจายของ ข่าวสาร ไปยังผู้รับสารที่มีจำนวนมากมายและหลากหลายอย่างรวดเร็วและพร้อมๆกัน รูปแบบอันนี้จะสามารถอธิบาย ลักษณะของสื่อใหม่ได้อย่างไร- สถาบันผลิตข่าวสารดั้งเดิมจำนวนมากได้มีความพยายามนำข้อมูลข่าวสารลงบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและบริการ เวิลด์ไวด์เวบ โอกาสเหล่านี้ย่อมเปลี่ยนไปสู่การพิจารณาถึงผลกำไรอย่างแน่นอน คุณคิดว่าแนวโน้มเช่นนี้จะเปลี่ยนไปหรือไม่ สถาบันผลิตข่าวสารเหล่านี้จะได้ประโยชน์อันใด หรือจะได้ผลกำไรเป็นตัวเงินหรือไม่อย่างไร
8.
ธุรกิจสกรีนของคนไทยที่ครบวงจรสำหรับวงการผู้ผลิตและจำหน่ายอุปกรณ์การพิมพ์สกรีนของเมืองไทย
ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส
จัดว่าเป็นบริษัทที่ทำครบวงจรรายใหญ่ในอันดับต้น ๆ เลยก็ว่าได้ จาก ประสบการณ์ด้านธุรกิจตั้งแต่รุ่นพ่อมาจนรุ่นลูก เป็นระยะเวลาเกือบ 5 ทศวรรษ จาก กิจการเล็ก ๆ จนมีบริษัทในเครืออีก 8 แห่งที่ล้วนแต่สนับสนุน ผู้ประกอบการธุรกิจ สกรีนทั้งสิ้น คุณพัฒนชัย เล่าให้ฟังว่า คุณพ่อ(คุณดิเรก ผู้ก่อตั้งบริษัทฯ)ได้เริ่มต้นทำธุรกิจในปี 2499 โดยใช้ชื่อ ห้างหุ้นส่วน สามัญนิติบุคคล พีอาร์ ชัยบูรณ์ ต่อมาในปี 2520 จึงได้เปลี่ยนเป็นชื่อ บริษัท ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส จำกัด จากที่เริ่มขายผ้าสกรีน ให้กับโรงพิมพ์สกรีน ซึ่งในสมัยนั้นมีลูกค้าเพียง 1 – 2 รายเท่านั้น ประกอบกับที่พูด ภาษาอังกฤษได้ดี ช่วงแรกจึงเริ่มด้วยการเป็นตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์การพิมพ์ สกรีนจากต่างประเทศ และได้มีการพัฒนาองค์กร ทั้งทางด้านเทคโนโลยี การบริหาร จัดการเรื่อยมาจนสามารถผลิตวัสดุ-อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการพิมพ์สกรีนได้เองแบบ ครบวงจร โดยมี หจก. ฟีนทาเซ็ท จำหน่ายอักษรลอกฟีนทาเซ็ท หจก.ซิลค์คัท ให้บริการต่าง ๆ เช่น การออกแบบฟิล์ม , การทำแม่พิมพ์สกรีนใน ลักษณะเป็น Supplier ให้ธุรกิจสกรีน บริษัท กุลวงศ์ จำกัด โรงงานผลิตหมึกสกรีนพิมพ์แห่งแรกของไทย และยังผลิตกาวอัด เคมีภัณฑ์สำหรับงานพิมพ์สกรีน ได้รับ ISO 9001 Version 2000 จาก RWTUV ของเยอรมัน หจก.แดพ ยู.ว ี บริการเคลือบเงาสิ่งพิมพ์ เป็น 1 ใน 2 ของธุรกิจเคลือบสิ่งพิมพ์ใน ประเทศไทย ที่ได้รับ ISO 9001Version 2000 บริษัท สหสติกเกอร์ จำกัด จำหน่ายสติกเกอร์ ไวนิล และเครื่องพิมพ์ระบบ Inkjet บริษัท ชัยสกรีน แมชชีนเนอรี่ จำกัด ผลิตและจัดจำหน่ายเครื่องจักรสำหรับการพิมพ์ สรีนและการพิมพ์แพ็ด บริษัท อัมพร ดีไซน์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด จำหน่ายพลาสติกลูกฟูก Future Boardคนทั่วไปที่ต้องการเรียนรู้เรื่องสกรีนเบื้องต้น แต่ใช้เวลาเพียงภายใน 1 วัน โดยจะเปิดอบรมฟรีทุกวันอาทิตย์ช่วง ปลายเดือน ผู้สนใจสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม หรือสำรองที่นั่งได้ที่ส่วนลูกค้าสัมพันธ์ โทร. 0-2533-2633 ต่อ 191 คุณสุดารัตน์ รักซ้อน E-mail :
mailto:marketing@chaiyaboon.com
เทคโนโลยีการตัด Die-Cut (1) : ประเภทของแม่พิมพ์วารสารการพิมพ์บรรจุภัณฑ์การทำอัดตัดตามแม่แบบ เราเรียกทับศัพท์กันทั่วไปว่า “ การทำดายคัท (Die-cut)” เป็นขั้นตอนของการผลิต บรรจุภัณฑ์ทั้งหลาย จุดประสงค์ก็เพื่อให้ได้รูปทรงตามแบบที่ต้องการ ตัวอย่างงานที่ต้องใช้เทคโนโลยีดังกล่าวได้แก่ กล่องพับ กล่องลูกฟูก กล่องพลาสติก และฉลากต่างๆ เป็นต้น การทำงานจะมีอุปกรณ์ส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ใบมีดสำหรับฉลุ แม่พิมพ์สำหรับการตัดตามรอย รวมถึงฐานรองตัดซึ่งทำจากวัสดุหลายประเภท อย่างเช่นไม้เนื้อแข็ง เหล็ก PVC หรือวัสดุผสมอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีชิ้นยางที่เอาไว้สำหรับติดข้างใบมีดเพื่อช่วยยกชิ้นงานขึ้น เรื่องที่เราจะ นำเสนอวันนี้ขอนำเรื่องแม่พิมพ์อัดมานำเสนอก่อน ในส่วนของแม่พิมพ์นั้น ก็มีใช้กันหลายประเภท โดยแบ่งตามประเภท ของงานและความคุ้มค่าในการใช้งานของผู้สั่งทำ1. แม่พิมพ์อัดตัดสำหรับกล่องลูกฟูก แม่พิมพ์ประเภทนี้มีรูปทรงอยู่ 2 แบบ เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะงานที่ทำกับเครื่องจักร คือแบบราบและแบบโรตารี่
1.1 แม่พิมพ์อัดตัดแบบราบ ( flat cuuting die) การทำจะเริ่มจากการฉลุฐาน ซึ่งส่วนใหญ่ นิยมใช้แผ่นไม้ ด้วยใบเลื่อย หรือ ลำเลเซอร์ แล้วจึงทำการฝังใบมีดลงในรอยที่ฉลุนั้น ข้อดีคือทำได้ง่าย เป็นที่นิยมทั่วไป ข้อเสียที่พบคือมีข้อจำกัดในเรื่องขนาดของแม่พิมพ์ ก็คือได้ไม่เกิน 1,100x1,600 ตร.มม. เนื่องจากตัวแม่พิมพ์ต้างใช้แรงกดสูง ทำให้ไม่สามารถอัดตัดแผ่นไม้ในขนาดที่ใหญ่กว่านี้ได้ ( ซ้าย)ข้อดีของแม่พิมพ์ไม้คือวัสดุหาไม่ยากอีกทั้งยังสะดวกในการทำงานมาก
1.2 แม่พิมพ์อัดตัดแบบโรตารี่ ( rotary cutting die) ลักษณะของฐานจะโค้งตามโมยึด ขนาดหน้ากว้างขึ้นกับ ขนาดของเครื่อง ส่วนตัวแม่พิมพ์จะคล้ายกับแบบราบ ชนิดนี้เหมาะกับงานจำนวนมาก หรืองานที่มีขนาดใหญ่ เช่นกล่องใส่ทีวีหรือตู้เย็นเพราะทำงานได้รวดเร็ว ข้อเสียต้นทุนที่แพง รวมถึงความผิดพลาดที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้สูง
2. แม่พิมพ์อัดตัดสำหรับกล่องพับ ลักษณะแม่พิมพ์นี้ส่วนใหญ่ผู้ประกอบการจะใช้แบบราบ ตามการออกแบบเครื่องจักร และยังแบ่งออกตามวัสด ุที่ใช้ทำฐานอีกด้วย
2.1 แม่พิมพ์อัดตัดฐานไม้ ( plywood cutting die) ลักษณะการทำงานเหมือนกับการทำแม่พิมพ์อัดกล่องลูกฟูก ข้อดีคือสามารถทำได้ง่ายและ สะดวกกว่าวิธีอื่นๆ
2.2 แม่พิมพ์อัดตัดฐานพลาสติกผสม วัสดุพลาสติกคิดค้นขึ้นด้วยเทคโนโลยีชั้นสูงที่มีคุณสมบัติพิเศษ คือสามารถใช้แรงดันน้ำ (water jet) ทำการฉลุแทนลำแสงเลเซอร์หรือใบเลื่อยได้ ทนทานแรงอัดได้ดี เหมาะสำหรับงานที่พิมพ์จำนวนมากๆ และงานพิมพ์ซ้ำ เพราะแม่พิมพ์มีการยืดหดตัวน้อย
2.3 แม่พิมพ์อัดตัดฐานเหล็ก/เรซิน ( sandwich cutting die) วิธีการทำแม่พิมพ์ก็คือ การนำแผ่นเหล็กบาง 2 แผ่นทำการฉลุด้วยแสงเลเซอร์ หรือเทคโนโลยีแรงดันน้ำ จากนั้นนำมายึดให้ ห่างจากกันเท่ากับความหนาของแม่พิมพ์ทั่วไป แล้วทำการฝังใบมีดพร้อมกบัเสริมด้วยการ สอดไส้เรซินอิพอกซี ( epoxy) แม่พิมพ์ชนิดนี้มีข้อดีตรงความแม่นยำสูง ทนกับสภาพอากาศ ข้อเสียคือราคาที่แพง ( ซ้าย) ไม่มีชุดยางพวกนี้งาน Die-cut ก็ทำสำเร็จไม่ได้เหมือนกัน
3. แม่พิมพ์อัดตัดสำหรับฉลาก เนื่องจากงานสิ่งพิมพ์ประเภทนี้ต้องการความละเอียดแม่นยำสูง ฐานแม่พิมพ์จะต้องทำจากวัสดุที่การยืดหดตัวน้อยที่สุด เช่น PVC เบเกไลท์ ( Bekelite) และเหล็ก เป็นต้น ลักษณะแม่พิมพ์มี 2 แบบ คือแบบราบ และโรตารี โดยแบบโรตารีจะเป็นแผ่นเหล็กบางสามารถนำไปพันรอบโมยึดได้และมีแรงแม่เหล็กด้วยยึดให้แน่นขึ้น
9.
ธุรกิจการพิมพ์และสื่อออนไลน์การผสานอนาคตวอลเตอร์ เบนเดอร์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสื่อของสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตต์ ( MIT) ได้ให้ความความเห็นว่า "กระดาษยังเป็นตัวแทนของการสื่อสาร" ในอนาคตแม้ว่าจะมีการใช้เทคโนโลยีทางการสื่อสารที่หลากหลายมากขึ้น แต่สุดท้ายสิ่งที่ผู้รับสารต้องการอ่านรายละเอียดทั้งหมด ก็จะต้องพิมพ์ข้อมูลเก็บลงกระดาษอยู่ดี นายวอลเตอร์ให้ความเห็น ในอนาคตการพิมพ์จะกลายเป็นการพิมพ์แบบส่วนบุคคลมากขึ้น ก็คือสื่อสิ่งพิมพ์จะกลายเป็นการพิมพ์ขึ้นตามความสนใจ ของแต่ละบุคคล แทนที่จะเป็นการพิมพ์ในจำนวนมาก ๆ เพื่อการค้าเช่นปัจจุบัน ต่อไปผู้บริโภคจะกลายเป็นผู้ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ตามที่ตนต้องการเองฮาราลด์ ไนด์ฮาร์ด CEO Cardrnine.com ได้เสริมความเห็นที่ว่า ผู้บริโภคจะใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อค้นหาข้อมูลสั้น ๆ และสามารถรับรู้ตอบโต้ได้ทันที เมื่อสนใจรายละเอียดก็จะพิมพ์ข้อมูลเก็บลงกระดาษไม่ได้สำคัญว่าใช้อะไร แต่ใช้แล้วประสบความสำเร็จไหมคือปัจจัยหลักรูดอล์ฟ ฟิชเชอร์ ประธานของ the C-Quential Inc. management consultant ออกความเห็นว่า การเลือกใช้สื่อที่ให้ตรงกับเป้าหมายธุรกิจจะกลายเป็นกุญแจแห่งความสำเร็จ " จะส่งข้อมูลได้เร็วแค่ไหนกับค่าใช้จ่ายที่ ต้องเสียเท่าไหร่" จะกลายเป็นปัจจัยชี้ว่าควรใช้เทคโนโลยีแบบไหน เพื่อให้ถึงมือผู้บริโภคได้เหมาะสมและเสียค่าใช้จ่ายที่ ถูกต้องที่ผู้บริหารองค์กรต่างๆ ต้องเอาใจใส่มากขึ้นเจ้าของสำนักพิมพ์จากนิวยอร์ค เจสัน แมคเคบ คาราคานิส เห็นว่าตอนนี้การนำเอาเทคโนโลยีบริการออนไลน์ นิตยสาร และ การประชุมทางไกลเข้ามารวมกันเพื่อเป็นสื่อชนิดใหม่เริ่มมีให้เห็นแล้ว โดยผู้บริโภคจะเป็นผู้เลือกใช้บริการ ช่องทางใดตามแต่ความต้องการของตัวเอง พร้อมทั้งให้ความเห็นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ว่า "ในบรรดาสื่อทั้งหมด สื่อสิ่งพิมพ์ ถือได้ว่าเป็นศิลปะแขนงหนึ่ง" "ในนิวยอร์ค การติดตามข่าวสารผ่านสื่อออนไลน์ถือว่าเป็นเรื่องปกติ ทำให้สื่อสิ่งพิมพ์ ประเภทหนังสือเติบโตสูงกว่าประเภทงานด้านกราฟิกไปโดยปริยาย"เบิร์นฮาร์ด เชรเออร์ สรุปการพูดคุยว่า ธุรกิจสิ่งพิมพ์ยังมีความเป็นไปได้ในการพัฒนาเพื่ออนาคต โดยเฉพาะเรื่อง ของความปลอดภัยในการรักษาความลับ สื่อสิ่งพิมพ์ยังมีจุดดีตรงนี้อยู่
เขียนโดย กาน ที่
12:38 ก่อนเที่ยง
0 ความคิดเห็น
วันพุธ, กันยายน 19, 2007
บทที่ 5 ธุรกิจสิ่งพิมพ์
1.ธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์สื่อสิ่งพิมพ์เป็นธุรกิจประเภทหนึ่ง ยกเว้นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ออกโดยรัฐ หรือองค์การสาธารณกุศล หรือองค์การการเมือง บางประเภท ซึ่งออกสื่อสิ่งพิมพ์มาเพื่อเผยแพร่แนวนโยบาย ข่าวสาร ความรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยไม่ขายหรือขาย ในราคาถูก ไม่หวังผลในด้านกำไร นอกจากต้องการที่จะเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารไปยังกลุ่มเป้าหมายการจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ต้องใช้ทุนทรัพย์ ยิ่งเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์ด้วยแล้ว ยิ่งต้องใช้ทุนทรัพย์ในการ ลงทุนสูงมาก เช่น ลงทุนเกี่ยวกับเครื่องจักร ยานพาหนะ อาคาร สถานที่ การจ้างบุคลากร วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต เป็นต้น ดังนั้น ผู้ที่ลงทุนหากเป็นเอกชนจำเป็นต้องคำนึงถึงความอยู่รอดของการดำเนินงาน นั่นคือจะต้องมีรายได้ในเบื้องต้น และมีกำไร นอกจากนี้ยังต้องการที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์บางประการที่ได้ตั้งไว้ด้วยการจัดทำธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์จำเป็นจะต้องอาศัยกระบวนการการบริหารงานหรือการจัดการเข้ามาช่วยในการดำเนินงาน เพราะอย่างน้อยการจัดทำธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์จะต้องมีกระบวนการผลิต หรือมีขั้นตอนการจัดทำ เช่น การเตรียมเรื่อง การจัดหน้า การพิมพ์ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีเรื่องการเงินเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย ดังนั้นการดำเนินการธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์จึงจำ เป็นต้องอาศัยการบริหารหรือการจัดการเข้าไปช่วยอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้การบริหารงานเป็นทั้งศาสตร์และเป็นทั้งศิลป์ ในด้านที่เป็นศาสตร์นั้น เป็นเพราะการบริหารงานจะต้องดำเนินไป อย่างมีระบบ มีขั้นตอน และมีหลักเกณฑ์ เช่น จะต้องมีการวางแผนงาน มีการจัดองค์การ มีการอำนวยการ มีการควบคุมงาน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอื่น ๆ อีกด้วยในด้านที่เป็นศิลป์ การบริหารงานจะต้องใช้ผู้บริหารหรือผู้บริหารที่รับผิดชอบ ถ้าผู้บริหารมีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์สูง และรู้จักใช้ทรัพยากรทางการบริหารได้อย่างเหมาะสมกับกาลเวลาและสภาพแวดล้อมแล้ว ก็จะนำความ เจริญก้าวหน้าและความสำเร็จมาสู่องค์การ เช่น ถ้าผู้บริหารมีความสามารถในการปกครองให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา อุทิศกำลังกาย กำลังใจ กำลังปัญญาความสามารถให้กับงานแล้ว องค์การก็จะเจริญก้าวหน้า และนับได้ว่าผู้บริหารมีศิลป์ ในการบังคับบัญชาหรือมีศิลป์ในการเป็นผู้นำ เป็นต้นในการบริหารงานนั้นจะต้องมีองค์ประกอบของการบริหารซึ่งเรียกกันว่า กระบวนการบริหาร ประกอบด้วย1.การวางแผน (planning) เพื่อให้รู้ว่าจะทำอะไรในเวลาใด และจะทำอย่างไร2. การจัดองค์การ (organizing) เพื่อให้มีการจัดงานออกเป็นประเภท หรือเป็นหน่วยงาน และแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบของคนที่จะทำงาน3.การอำนวยการ (directing) เพื่อสั่งการ จูงใจ ชักนำ และจัดระบบการสื่อข้อความในองค์การ เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย4. การควบคุมงาน (controlling) เพื่อกำหนดมาตรฐานการทำงาน การติดตามผล และการวัดผล การปฏิบัติงาน นอกจากองค์ประกอบหลัก 4 ประการนี้แล้ว อาจจะรวมถึงการจัดกำลังคน (staffing) การจัดรายงาน (reporting) การจัดทำงบประมาณ (budgeting) และการวินิจฉัยสั่งการ (decision making) เข้าไว้ในกระบวนการบริหารด้วย สำหรับตอนนี้จะกล่าวถึงเฉพาะหัวข้อทั้ง 4 ดังกล่าวข้างต้นในหัวเรื่องต่อ ๆ ไป2.บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์นักวิชาการหลายท่านได้ให้ทัศนะถึงบทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ไว้ กล่าวคือวัลลภ สวัสดิวัลลภ (2535, หน้า 82) กล่าวว่า “ บทบาทของหนังสือพิมพ์หมายถึงหน้าที่และความรับผิดชอบ ของหนังสือพิมพ์อันมีต่อสังคม หนังสือพิมพ์จึงต้องตระหนักและเข้าใจในภารกิจทั้งสองประการนี้โดยถูกต้องและถ่องแท้ ตลอดเวลา มิฉะนั้นก็ไขว้เขวผิดเพี้ยน ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของหนังสือพิมพ์เพราะอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ สังคมส่วนรวมได้ ”วิชัย พยัคฆโส 1 (2542, หน้า 1) “ สื่อสิ่งพิมพ์มีบทบาทที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศเพราะสื่อสิ่งพิมพ์ได้ เสริมสร้างบทบาทพื้นบานด้านการศึกษา สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองควบคู่กันไป บางครั้งมีผู้กล่าวว่า ความเจริญ ของประเทศใดอาจวัดได้จากปริมาณการบริโภคกระดาษของชนในชาตินั้นเป้นองค์ประกอบหนึ่ง สำหรับประเทศไทย เช่นเดียวกัน บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ได้มีบทบาทสูงยิ่งในการพัมนาประเทศมาจนปัจจุบันและในอนาคตต่อไปอย่างไม่มี ที่สิ้นสุดประธานคณะมนตรีสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ นายกสมาคมส่งเสริมวิชาการพิมพ์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการ บริษัท คัมปาย อิมเมจจิ้งจำกัด และผู้อำนวยการองค์การค้าคุรุสภาจันทนา ทองประยูร (2537. หน้า 14) กล่าวว่า “ เมื่อเทคโนโลยีทางการพิมพ์เจริญก้าวหน้าจนถึงขั้นมีการ ประดิษฐ์เครื่องจักรและอุปกรณ์ทางการพิมพ์ที่ทันสมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การพิมพ์จำนวนมากในระยะเวลาอันรวดเร็วทำให้สิ่งพิมพืมีบทบาทมากมายในชีวิตประจำวันของมนุษย์ ตั้งแต่การใช้สื่อสิ่งพิมพ์เป็นแหล่งให้ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ความบันเทิง เป็นแหล่งข้อมูลที่มนุษย์ใช้ประกอบการตัดสินใจ ฯลฯ สิ่งพิมพ์นอกจากจะมีบทบาทอย่างมากในชีวิติประจำวันระดับบุคคลแล้ว ยังมีบทบาทอย่างมากต่อการพัฒนาบ้านเมือง ต่อความเจริญทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมด้วย ”อนันต์ธนา อังกินันทน์ (2539, หน้า 260) กล่าวว่า “ สื่อสิ่งพิมพ์มีบทบาทอย่างสำคัญในสังคมทั้งทาง ด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ไม่ว่าจะศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และการมรอิทธิพลที่แตกต่างไปจากสื่อมวลชนประเภทอื่นๆ ……. อาจสรุปบทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีต่อสังคมได้ 3 ประการคือ บทบาทในการพัฒนาการเมือง การพัฒนาเศรษฐกิจ และการพัฒนาสังคม ”สุรัตน์ นุ่มนนท์ (2539, หน้า 60) กล่าวว่า “ สื่อสิ่งพิมพ์มีส่วนช่วยให้การดำรงชีวิตของมนุษย์เปลี่ยนแปลง ไปอย่างมากจากยุคปราศจากสิ่งพิมพ์ สามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ เพื่อนำไปประกอบอาชีพด้วยการเรียนรู้จากหนังสือ …. อย่างไรก็ตาม แม้สื่อสิ่งพิมพ์จะสามารถสร้างคุณประโยชน์ให้แก่มนุษย์ได้หลายประการ แต่ก็สามารถชักนำไปในทางที่ผิด ได้จนเป็นการทำลายสังคม ….. แต่โดยคุณประโยชน์ส่วนรวมแล้ว สื่อสิ่งพิมพ์ได้เข้ามามีส่วนช่วยเหลือให้การดำรงชีวิต ของมนุษย์ดีขึ้น รวมทั้งได้ช่วยแนะนำแก้ไขปัญหาสังคมในด้านต่างๆ ”นันทา วิทวุฒิศักดิ์ (2537, หน้า 208) กล่าวว่า “ สิ่งพิมพ์สามารถช่วยส่งเสริมบุคคลิกภาพและความรู้ ความสามารถ ทำให้แต่ละคนรู้ว่าควรจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะมีชีวิตอยู่อย่างสมบูรณืและมีความสุข ในด้านสิ่งพิมพ์อื่นๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร และจุล จุลสาร ก็เอื้ออำนวยต่อการศึกษา หนังสือพิมพ์นอกจากให้ความรู่เรื่องราวข่าวสาร ประจำวันแล้ว ยังเป็นเครื่องมือทางการศึกษา และยังเป็นข้ออ้างอิงอีกด้วย วารสารเสนอเหตุการณ์และบทความวิชาการ ที่ทันสมัย ซึ่งให้ประโยชน์ได้เต็มที่แล้ว วารสารเชิงวิชาการยังใช้สำหรับค้นคว้าอ้างอิงเสมือนตำราได้ตลอดไป ทฤษฎีต่างๆ ที่มีผู้คิดขึ้นมามักจะตีพิมพ์ในวารสารก่อนเสมอ สำหรับจุลสารมีประโยชน์ในแง่ของการเสนอเรื่องราวที่เป็นประโยชน์อื่นๆ เฉพาะอย่าง ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา การเกษตร การเมือง การปกครอง การพัฒนาตนเอง พัฒนาสังคม และพัฒนาประเทศ ”3.แนวโน้มของสื่อสิ่งพิมพ์แนวโน้มของสื่อสิ่งพิมพ์ความเปลี่ยนในด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร นับเป็นปัจจัยสำคัญยิ่งสำหรับวงการสื่อที่มีความเกี่ยวข้องกับข่าวและ ข่าวสาร ซึ่งแม้ดูเหมือนว่า ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้จะค่อยเป็นค่อยไป แต่ด้วยความแพร่หลายไปทั่วของเทคโนโลยี การสื่อสารหลากหลายชนิด เช่น คอมพิวเตอร์ ดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร โครงข่ายโทรศัพท์ อุปกรณ์ภาพและเสียง ที่มีต่อ “ สื่อมวลชนแบบดั้งเดิม ” (traditional media) เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ มีผลให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า “ การปฏิวัติแห่งระบบตัวเลข ” (digital revolution) ทำให้ข้อมูลข่าวสารไม่ ว่าจะอยู่ในรูปลักษณ์ใด เช่น ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว รูปภาพ หรืองานกราฟิก ได้รับปรับเปลี่ยนให้เป็นภาษาอีก ชนิดหนึ่งเป็นรูปแบบเดียวกันทั้งหมด คือสามารถอ่านและส่งผ่านได้อย่างรวดเร็วด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วยังสามารถ นำเสนอในลักษณะใดก็ได้ ตามความต้องการใช้งานของผู้ใช้งาน ความเปลี่ยนแปลงนี้ถูกเรียกขานว่า “ การทำให้เป็น ระบบตัวเลข ” หรือ “ ดิจิไทเซชั่น ” (digitization)ด้วยระบบที่มีการทำให้เป็นระบบตัวเลขนี่เอง เป็นปัจจัยอันสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้เกิด “ สื่อใหม่ ” (New Media) เกิดขึ้น ซึ่งเป็นสื่อที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกับระบบตัวเลข เครื่องคอมพิวเตอร์ และระบบการสะท้อนกลับ หรือ “ อินเตอร์แอคทีฟ ” (interactive) คาดว่าสื่อใหม่จะสามารถตอบสนองความต้องการของ “ ผู้แสวงหาข่าวสาร ” (seeker) ได้มีประสิทธิภาพมากกว่าสื่อมวลชนแบบดั้งเดิม เนื่องจากสื่อใหม่ไม่มีข้อจำกัดในด้านเวลา (time) และเนื้อที่ (space) เหมือนอย่างเคยเป็นข้อจำกัดของสื่อมวลชนแบบดั้งเดิมมาก่อนตัวอย่างข้อจำกัดของสื่อมวลชนแบบดั้งเดิมประเภทหนังสือพิมพ์และนิตยสาร คือ เนื้อที่มีจำกัดสำหรับข่าว ข้อมูลข่าวสาร และการโฆษณา เช่นเดียวกันกับข้อจำกัดในด้านเวลาออกอากาศของวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ อย่างไรก็ตาม สื่อใหม่ก็มีข้อจำกัดตรงที่ไม่ได้เป็นการตีพิมพ์ข้อมูลข่าวสารลงบนกระดาษ รวมทั้งไม่ได้เป็นการออก อากาศรายการวิทยุแลโทรทัศน์ไปยังผู้คนจำนวนมากมายในเวลาที่แน่นอน แต่ข้อมูลข่าวสารได้ถูกบันทึกไว้ในระบบตัวเลข จำนวนมากจะสามารถตอบสนองผู้แสวงหาข้อมูลข่าวสารได้ ก็ต่อเมื่อพวกเขามีความต้องการสื่อใหม่แล้วหาได้จากหน้าจอ ของเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น ( ในอนาคตอันใกล้นี้ อาจพัฒนามาเป็นการนำเสนอผ่านทางหน้าจอเครื่องรับโทรทัศน์ได้ เช่นเดียวกัน )อาจกล่าวได้ว่า ขณะที่สื่อมวลชนแบบดั้งเดิมส่งข้อมูลข่าวสารให้กับผู้รับในลักษณะที่เป็น “passive receivers” แต่ผู้รับสารของสื่อใหม่เป็นผู้รับสารที่มีลักษณะ “active seeker” คือเป็นฝ่ายแสวงหาข้อมูลข่าวสารด้วยตนเอง ตามความสนใจและความสงสัยอยากรู้อยากเห็นของตัวเองโดยอิสระเสรี ดังนั้น ข้อมูลข่าวสารใดๆ ที่ไม่สามารถหาได้จาก สื่อมวลชนแบบดั้งเดิม เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ ก็สามารถหาได้จากสื่อใหม่นี้ ได้โดยไม่มีขีดจำกัด4.อะไรคือสื่ออะไรคือสื่อใหม่สิ่งที่เราเรียกว่าเป็น “ สื่อใหม่ ” หมายถึง ระบบการสื่อสารหรือเชื่อมต่อทางอิเล็กทรอนิกส์ของเครือข่ายในระดับโลก ได้แก่ เครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet) บริการระบบเวิลด์ไวด์เวบ (World Wide Web : WWW) บริการข้อมูล ออนไลน์เชิงพาณิชย์ (Commercial on-line service) เป็นต้นสื่อใหม่เปิดโอกาสให้องค์กรด้านข่าวสารแบบดั้งเดิม ธุรกิจขนาดใหญ่และขนาดย่อม องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร องค์กรภาคเอกชน นักเรียน นักศึกษา นักวิชาการ กลุ่มผู้สนใจเฉพาะ และชุมชนทุกประเภททุกระดับจากทั่วโลก สามารถเป็น “ ผู้ส่งสาร ” ( ข่าวและข้อมูลข่าวสาร ) ให้แก่ผู้รับสารทั่วโลก ที่มีจำนวนมากจนไม่อาจคาดคะเนจำนวนได้ (virtually worldwide audience) คำว่า “ สื่อใหม่ ” (New Media) เป็นการจุดประกายมุมมองใหม่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับข้อมูล ข่าวสาร ซึ่งบทบาทของสื่อใหม่อาจทำให้ ให้ความสัมพันธ์เดิมเปลี่ยนแปลงไปในขณะนี้บางสิ่งบางอย่างเกิดการ เปลี่ยนแปลงขึ้นแล้ว แม้สื่อใหม่นี้ไม่ได้ลดความสำคัญ (abandoning) หรือเข้ามาแทนที่ (replacing) รูปแบบดั้งเดิมของสื่อ แต่เป็นไปได้ว่าสื่อใหม่จะช่วยขยายศักยภาพและประสิทธิภาพให้กับสื่อดั้งเดิมเท่าที่จะเป็นไปได้5.ปัจจัยสู่ยุคสื่อใหม่อะไรคือสื่อใหม่สิ่งที่เราเรียกว่าเป็น “ สื่อใหม่ ” หมายถึง ระบบการสื่อสารหรือเชื่อมต่อทางอิเล็กทรอนิกส์ของเครือข่ายในระดับโลก ได้แก่ เครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet) บริการระบบเวิลด์ไวด์เวบ (World Wide Web : WWW) บริการข้อมูล ออนไลน์เชิงพาณิชย์ (Commercial on-line service) เป็นต้นสื่อใหม่เปิดโอกาสให้องค์กรด้านข่าวสารแบบดั้งเดิม ธุรกิจขนาดใหญ่และขนาดย่อม องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร องค์กรภาคเอกชน นักเรียน นักศึกษา นักวิชาการ กลุ่มผู้สนใจเฉพาะ และชุมชนทุกประเภททุกระดับจากทั่วโลก สามารถเป็น “ ผู้ส่งสาร ” ( ข่าวและข้อมูลข่าวสาร ) ให้แก่ผู้รับสารทั่วโลก ที่มีจำนวนมากจนไม่อาจคาดคะเนจำนวนได้ (virtually worldwide audience) คำว่า “ สื่อใหม่ ” (New Media) เป็นการจุดประกายมุมมองใหม่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับข้อมูล ข่าวสาร ซึ่งบทบาทของสื่อใหม่อาจทำให้ ให้ความสัมพันธ์เดิมเปลี่ยนแปลงไปในขณะนี้บางสิ่งบางอย่างเกิดการ เปลี่ยนแปลงขึ้นแล้ว แม้สื่อใหม่นี้ไม่ได้ลดความสำคัญ (abandoning) หรือเข้ามาแทนที่ (replacing) รูปแบบดั้งเดิมของสื่อ แต่เป็นไปได้ว่าสื่อใหม่จะช่วยขยายศักยภาพและประสิทธิภาพให้กับสื่อดั้งเดิมเท่าที่จะเป็นไปได้6.ความเปลี่ยนแปลงของสื่อสิ่งพิมพ์ตารางเปรียบเทียบสื่อมวลชนแบบดั้งเดิมกับสื่อใหม่สื่อมวลชนแบบดั้งเดิม(TRADITIONAL Mass Media)สื่อใหม่ (New Media)เน้นตอบสนองชุมชนชัด (Geographically Constrained)ถูกผลักดันให้ตอบสนอง ต่อความต้องการของตลาด การหาส่วนแบ่งตลาดจาดผู้รับสารในท้องถิ่นไม่สนใกล้ไกล (Distance Insensitive)ถูกผลักดันให้ตอบสนองความต้องการ ,ความสนใจ , ไม่สนใจความใกล้ไกลของผู้ใช้งาน , จำเพาะเจาะจงหัวข้อองค์กรหลายระดับชั้น (Heriarchincal)ข่าวสารข้อมูลผ่านระดับชั้นแนวตั้งของผู้เฝ้าประตูข่าวสารและคัดเลือกข่าวโดยมืออาชีพกระจายแนวราบ (Flattened)ข่าวสารข้อมูลมีศักยภาพที่จะแพร่กระจายแนวราบ , โดยไม่ใช่มืออาชีพไปยังกลุ่ม ลักษณะคล้ายกันมุ่งทิศทางเดียว (Undirectional)การแพร่กระจายของข่าวสารข้อมูลเป็นแบบทางเดียว , มีผลสะท้อนกลับชัดเจนเชิงปฏิสัมพันธ์ (Interactive)ผลสะท้อนกลับ ทันทีทันใด ไม่มีการตรวจสอบแก้ไข , การอภิปรายโต้แย้งมีมากกว่าการตรวจแก้ และแสดงความคิดเห็นข้อจำกัดด้านพื้นที่ / เวลา(Space/Time Constrained) หนังสือพิมพ์ จำนวนพื้นที่ วิทยุ - ทีวี จำกัดด้วยเวลาไร้ขีดจำกัดพื้นที่และเวลา(Less Space/Time Constrained)ข่าวสารข้อมูลอยู่ในรูปดิจิตอล , ระบบไฮเปอร์เท็กซ์ให้ข้อมูลไม่จำกัดนำเสนอโดยนักสื่อสารมวลชน(Professional Communicators)นักวารสารศาสตร์ ผู้สื่อข่าวผู้เชี่ยวชาญ ได้คุณภาพตรงกับงานสื่อสารมวลชนแบบเดิมนำเสนอโดยมือสมัครเล่น(Amateur/Non-professional)ใครก็ได้มีทรัพยากรที่จำเป็นพรอมก็เสนอผลงานบนเวบได้ รวมทั้งมือสมัครเล่นสื่อมวลชนแบบดั้งเดิม(TRADITIONAL Mass Media)สื่อใหม่ (New Media) ต้นทุนสูงมาก (Hing Access Costs)ต้นทุนเริ่มสูงเกินกว่าความสามารถของคนส่วนใหญ่ ที่จะดำเนินการได้เองต้นทุนน้อยกว่ามาก (Low Accecc Costs)ต้นทุนในการตีพิมพ์ , ออกรายการวิทยุ, ทีวีบนอินเตอร์เน็ต มีความเป็นไปได้สูงสำหรับคนทั่วไปให้ความสนใจทั่วๆไป (General Interest)กลุ่มเป้าหมายหลักของสื่อมวลชน กว้างมากทำให้ต้องนำเสนอหลากหลายตามใจผู้ใช้ (Customized)มีข้อจำกัดด้านพื้นที่และเวลาน้อยมาก เน้นตอบสนองตลาดน้อย ทำให้ตอบสนองผู้ใช้ได้เจาะจงความสนใจมากกว่ามีลำดับของเนื้อหา (Linearity of Content)ข่าวสารข้อมูลได้รับการจัดลำดับอย่างมีเหตุผล มีลำดับความสำคัญของข่าวไม่มีลำดับของเนื้อหา (Non-Linearity of Content)ข่าวสารข้อมูลถูกเชื่อมไว้ด้วยระบบไฮเปอร์เท็กซ์ การสืบค้นขึ้นกับความสนใจ ตอบสนองได้ดีกว่าเหตุและผลลักษณะผลสะท้อนกลับ (Feedback)จดหมาย - โทรศัพท์ถึงบรรณาธิการ ,ซ้ำต้องใช้ความพยายามมาก , ปรับแก้ได้ก่อน , ไม่รุนแรง , มีพื้นที่ - เวลาจำกัดลักษณะผลสะท้อนกลับ (Feedback)อี - เมล์ , ฝากไว้ที่กลุ่มข่าว , เปรียบเทียบง่ายรวดเร็ว , ไม่มีปรับแก้ก่อน , มีความรุนแรงแรงขับจากโฆษณา (Advertising Driven)ต้องเอาหาผู้อ่านจำนวนมากเพื่อการโฆษณาและทำรายได้แหล่งทุนหลากหลาย (Diverse Funding Sources)โฆษณามีมาก , ผู้สนับสนุนยินดีกับกลุ่มผู้รับสารจำนวนน้อยมีพันธะกิจสถาบัน (Institution Bound)บริหารจัดการโดยบริษัทขนาดใหญ่ องค์กรรวมศูนย์กระจายตัว (Decentralized)เทคโนโลยีเอื้ออำนวยกระบวนการผลิต การกระจายข่าวสารข้อมูลโดยคนทั่วๆ ไป และขยายกว้างขวาออกไปรูปแบบตายตัว (Fixed Format): เนื้อที่ที่นำเสนอขึ้นอยู่กับลักษณเฉพาะของตัวสื่อ ( พื้นที่ / เวลา )รูปแบบยืดหยุ่น (Fixeble Format)เนื้อหารเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา , ทันสมัย , ถูกต้อง , แก้ไขได้ , มีบริการมัลติมีเดียจากสื่อตัวเดียวประเมินคุณค่าข่าวตามหลักวารสารศาสตร์ (News Values, Journslistic Standard)เนื้อหามีกระบวนการผลิต ที่อิงกับการประเมินคุณค่าข่าว โดยยึดถือตามแบบแผนและจรรยาบรรณมาตรฐานที่สร้างสรรค์ (Formative Stadard)ข่าวสารข้อมูลมีแบบแผนและคุณค่าไม่ชัดเจน , กระบวนการผลิต การพิจารณาขึ้นอยู่กับคุณธรรมและความเชื่อส่วนบุคคลจากตารางจะเห็นได้ว่าสิ่งที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง และจะเป็นประเด็นหลักให้นักสื่อสารมวลชนต้องขบคิดก็คือ การประเมินคุณค่าของข่าว แบบแผนและมาตราฐานของวารสารศาสตร์ในการนำเสนอข่าวนั้น นักวารสารศาสตร์ถูกตั้ง ความหวังให้ยึดถือจริยธรรมแห่งวิชาชีพและมาตรฐานของวารสารศาสตร์ ความสมดุลระหว่างการสร้างโอกาสทางธุรกิจที่ สร้างสรรค์ของสื่อใหม่กับการทำหน้าที่ตอบสนองความต้องการของสาะารณชนได้รับการเรียกร้องจาก ผู้รับสารต่อสถาบัน ด้านข่าว ที่เติบโตขึ้นมาเป็นบริษัทใหญ่เช่นเดียวกัน7.การปรับตัวของนักสื่อสารมวลชนการปรับตัวของนักสื่อสารมวลชนคำถามต่อไปนี้เป็น “ เครื่องมือ ” ที่น่าจะเป้นการเปิดประเก็นหัวข้อให้ได้นำไปขบคิดและศึกษาวิจัยกันอีกได้ไม่น้อย โดยยังสามารถเป้นกรอบการคิดเชิงวิพากษ์เกี่ยวกับผลกระทบและผลที่จะตามมาจากสื่อใหม่ ซึ่งครอบคลุมในหลายประเด็น ได้แก่ วิชาชีพสื่อสารมวลชน การสร้างสรรค์ชุมชน จริยธรรม และเศรษฐศาสตร์ ซึ่งการเพียรตั้งคำถามและ หาคำตอบต่อประเด็นเหล่านี้เป้นหนทางนำไปสู่ความเข้าใจในสื่อใหม่อย่างลึกซึ้ง (new media literacy)- กระบวนการพัฒนาขอสื่อใหม่ซึ่งทำให้ผู้รับสารได้รับข่าวสารที่เจาะจงความต้องการของตัวเอง (customized) ได้มากขึ้นนั้น อะไรคือข้อเด่นประโยชน์ที่จะตามมาจากความสามารถในการเลือกข่าวสารเจาะจงจากสื่อได้ด้วยตัวเองของ ผุ้รับสาร และอะไรคือข้อด้อย และการเพิ่มขึ้นของแนวโน้มนี้จะมีผลให้ความไมาพิธีรีตรองของประชาชนลอน้องลวหรือไม่ การอภิปรายทั้งเชิงสนับสนุนและคัดค้านในการพัฒนาเหล่านี้ค่อยๆ เพิ่มโอกาสให้กับระบบข่าวสารและข้อมูลข่าวสารในระบบตัวเลข- จะทำอย่างไรเพื่อให้สามารถเข้าถึงการสื่อสารระบบใหม่และเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร เช่น อินเตอร์เน็ต บริการข้อมูลออนไลน์เชิงพาณิชย์ ช่องว่างของข้อมูลข่าวสารระหว่างมีกับไม่มีกำลังอยู่ในภาวะอันตรายใช่หรือไม่ ถ้า ไม่เช่นนั้นแล้ว เราจะแก้ไขปัญหานั้นอย่างไร- รัฐบาลควรมีบทบาทหรือไม่อย่างไรในการควบคุมอินเตอร์เน็ต อะไรคือทิศทางของอินเตอร์เน็ต สภาวะของ สื่อใหม่กำลังเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว แนวทางการที่มีประสิทธิภาพในการใช้ประโยชน์จากการพัฒนาของสื่อใหม่- สถาบันที่เคยผลิตข่าวสารแบบดั้งเดิมควรรู้สึกว่าได้รับการดูแลจากการเกิดขึ้นของสิ่งใหม่ใช่หรือไม่ สื่อแบบดั้งเดิม กำลังจะล้าสมัยใช่หรือไม่ หรือการกล่าวถึงสื่อใหม่ในเวลานี้รวดเร็วเกินไปใช่หรือไม่- เราจะได้รับความสะดวกสบายจากระบบการสื่อสารระดับโลกอย่างไรบ้าง ความสะดวกนี้จะรวมไปถึงการสื่อสาร ระหว่างบุคคล เช่น การพูดคุยกับคนอื่นๆ ผ่านทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งโอกาสเรียนรู้สิ่งใหม่ เช่น เกี่ยวกับต่างประเทศ วิทยาการและวัฒนธรรมโดยการเข้าถึงข่าวสารต่างประเทศจากคอมพิวเตอร์ใช่หรือไม่- บางประเด็นที่อินเตอร์เน็ตถูกวิจารณ์ว่า แม้อินเตอร์เน็ตให้ข้อมูลข่าวสาร ขณะเดียวกันก็สร้างความยุ่งยากในการ แสวงหาข่าวสารและข้อมูลข่าวสารที่สำคัญ ให้กับผู้ใช้ เพราะจำนวนข้อมูลข่าวสารที่มีมากเกินไป ข้อมูลข่าวสารที่สำคัญๆ ไปจมหายในส่วนเกิน คุณเห็นด้วยหรือไม่สื่อใหม่จะถูกนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการ “ สร้างสรรค์ค์ชุมชน ” (community building) ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และช่วยแก้ปัญหาชุมชนหรือไม่ อย่างไร - “ การสื่อสารที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อ ” (computermediated communication : CMC) ไม่ได้ช่วยให้ สังคมเข้มแข็งจริงหรือ จะลดความสำคัญของการสื่อสารแบบพบหน้า หน้าค่าตา (face-to-face) และนำไปสู่ภาวการณ์ ต่อต้านสังคม (anti-social) การสื่อสารที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อจะทำให้ผู้คนหลงใหลติดใจใช่หรือไม่ - ธรรมชาติของการสื่อสารโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อซึ่งไม่เปิดเผยซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เป็นทางนำไปสู่อาชญกรรมอย่างกว้างขวางขึ้น เช่น เครือข่ายการค้ายาเสพติด ผู้ก่อการร้าย ภาพลามกอนาจารของเด็กจะ แพร่หลาย รวมทั้งการละเมิดลิขสิทธิ์ สมมติฐานเหล่านี้เป็นสิ่งที่อยู่คุณคิดว่าต้องทำให้ถูกกฎหมายใช่หรือไม่ และควรเริ่มต้น อย่างไร- ผู้คนจะคิดและมีพฤติกรราการสื่อสารแตกต่างกันไปเมื่ออยู่ใน “ ภาวะเสมือนจริง ” (virtualenvironments) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบรรยากาศของการสื่อสารโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อ- สื่อใหม่ควรได้รับการสนับสนุนทางด้านเงินทุนอย่างไร รูปแบบของการจัดหาเงินทุนมีลักษณะอย่างไร และข้อเด่น ข้อด้อยของแต่ละรูปแบบมีอย่างไรบ้าง- ประโยคที่มีการพูดกันมานานว่า “ ใครก็เป็นผู้พิมพ์ผู้โฆษณาบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ ” จะทำให้มีผลกระทบต่อ วิชาชัพและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับข่าวสารอย่างไร มาตรฐานของความถูกต้อง (accuracy) และความเชื่อถือ (reliability) ความมีคุณธรรม (integrity) ของข่าวสารและข่าวสารจะถูกตำหนิได้ง่ายขึ้นหรือไม่- สื่อใหม่จะมีผลลึกซึ้งต่อตลาดมวลชน (mass market) หรือไม่ โดยเฉพาะจะใช้เทคโนโลยีใหม่ในการ โน้มน้าวกลุ่มประชากรที่มีมากกลุ่มได้อย่างไร- โฉมหน้าความเป็นไปได้ในอนาคตของสภาพการสื่อสารในช่วง 5 ปี 10 ปี 20 ปี และ 50 ปีข้างหน้าจะเป็นอย่างไร ในท่ามกลางการแข่งขันกับการเข้าควบคุมภาวะสื่อใหม่ ใครคือ ผู้ชนะใครคือผู้แพ้ ภาครัฐบาล ภาคเอกชน หรือประชาสังคม (civil society) กันแน่- รูปแบบของการสื่อสารมวลชนแบบดั้งเดิมที่ได้อธิบายถึงผู้ส่งสารหรือแหล่งสารเดี่ยวๆ การแพร่กระจายของ ข่าวสาร ไปยังผู้รับสารที่มีจำนวนมากมายและหลากหลายอย่างรวดเร็วและพร้อมๆกัน รูปแบบอันนี้จะสามารถอธิบาย ลักษณะของสื่อใหม่ได้อย่างไร- สถาบันผลิตข่าวสารดั้งเดิมจำนวนมากได้มีความพยายามนำข้อมูลข่าวสารลงบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและบริการ เวิลด์ไวด์เวบ โอกาสเหล่านี้ย่อมเปลี่ยนไปสู่การพิจารณาถึงผลกำไรอย่างแน่นอน คุณคิดว่าแนวโน้มเช่นนี้จะเปลี่ยนไปหรือไม่ สถาบันผลิตข่าวสารเหล่านี้จะได้ประโยชน์อันใด หรือจะได้ผลกำไรเป็นตัวเงินหรือไม่อย่างไร8.ธุรกิจสกรีนของคนไทยที่ครบวงจรสำหรับวงการผู้ผลิตและจำหน่ายอุปกรณ์การพิมพ์สกรีนของเมืองไทย
ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส
จัดว่าเป็นบริษัทที่ทำครบวงจรรายใหญ่ในอันดับต้น ๆ เลยก็ว่าได้ จาก ประสบการณ์ด้านธุรกิจตั้งแต่รุ่นพ่อมาจนรุ่นลูก เป็นระยะเวลาเกือบ 5 ทศวรรษ จาก กิจการเล็ก ๆ จนมีบริษัทในเครืออีก 8 แห่งที่ล้วนแต่สนับสนุน ผู้ประกอบการธุรกิจ สกรีนทั้งสิ้น คุณพัฒนชัย เล่าให้ฟังว่า คุณพ่อ(คุณดิเรก ผู้ก่อตั้งบริษัทฯ)ได้เริ่มต้นทำธุรกิจในปี 2499 โดยใช้ชื่อ ห้างหุ้นส่วน สามัญนิติบุคคล พีอาร์ ชัยบูรณ์ ต่อมาในปี 2520 จึงได้เปลี่ยนเป็นชื่อ บริษัท ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส จำกัด จากที่เริ่มขายผ้าสกรีน ให้กับโรงพิมพ์สกรีน ซึ่งในสมัยนั้นมีลูกค้าเพียง 1 – 2 รายเท่านั้น ประกอบกับที่พูด ภาษาอังกฤษได้ดี ช่วงแรกจึงเริ่มด้วยการเป็นตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์การพิมพ์ สกรีนจากต่างประเทศ และได้มีการพัฒนาองค์กร ทั้งทางด้านเทคโนโลยี การบริหาร จัดการเรื่อยมาจนสามารถผลิตวัสดุ-อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการพิมพ์สกรีนได้เองแบบ ครบวงจร โดยมี หจก. ฟีนทาเซ็ท จำหน่ายอักษรลอกฟีนทาเซ็ท หจก.ซิลค์คัท ให้บริการต่าง ๆ เช่น การออกแบบฟิล์ม , การทำแม่พิมพ์สกรีนใน ลักษณะเป็น Supplier ให้ธุรกิจสกรีน บริษัท กุลวงศ์ จำกัด โรงงานผลิตหมึกสกรีนพิมพ์แห่งแรกของไทย และยังผลิตกาวอัด เคมีภัณฑ์สำหรับงานพิมพ์สกรีน ได้รับ ISO 9001 Version 2000 จาก RWTUV ของเยอรมัน หจก.แดพ ยู.ว ี บริการเคลือบเงาสิ่งพิมพ์ เป็น 1 ใน 2 ของธุรกิจเคลือบสิ่งพิมพ์ใน ประเทศไทย ที่ได้รับ ISO 9001Version 2000 บริษัท สหสติกเกอร์ จำกัด จำหน่ายสติกเกอร์ ไวนิล และเครื่องพิมพ์ระบบ Inkjet บริษัท ชัยสกรีน แมชชีนเนอรี่ จำกัด ผลิตและจัดจำหน่ายเครื่องจักรสำหรับการพิมพ์ สรีนและการพิมพ์แพ็ด บริษัท อัมพร ดีไซน์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด จำหน่ายพลาสติกลูกฟูก Future Boardคนทั่วไปที่ต้องการเรียนรู้เรื่องสกรีนเบื้องต้น แต่ใช้เวลาเพียงภายใน 1 วัน โดยจะเปิดอบรมฟรีทุกวันอาทิตย์ช่วง ปลายเดือน ผู้สนใจสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม หรือสำรองที่นั่งได้ที่ส่วนลูกค้าสัมพันธ์ โทร. 0-2533-2633 ต่อ 191 คุณสุดารัตน์ รักซ้อน E-mail :
marketing@chaiyaboon.com
เทคโนโลยีการตัด Die-Cut (1) : ประเภทของแม่พิมพ์วารสารการพิมพ์บรรจุภัณฑ์การทำอัดตัดตามแม่แบบ เราเรียกทับศัพท์กันทั่วไปว่า “ การทำดายคัท (Die-cut)” เป็นขั้นตอนของการผลิต บรรจุภัณฑ์ทั้งหลาย จุดประสงค์ก็เพื่อให้ได้รูปทรงตามแบบที่ต้องการ ตัวอย่างงานที่ต้องใช้เทคโนโลยีดังกล่าวได้แก่ กล่องพับ กล่องลูกฟูก กล่องพลาสติก และฉลากต่างๆ เป็นต้น การทำงานจะมีอุปกรณ์ส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ใบมีดสำหรับฉลุ แม่พิมพ์สำหรับการตัดตามรอย รวมถึงฐานรองตัดซึ่งทำจากวัสดุหลายประเภท อย่างเช่นไม้เนื้อแข็ง เหล็ก PVC หรือวัสดุผสมอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีชิ้นยางที่เอาไว้สำหรับติดข้างใบมีดเพื่อช่วยยกชิ้นงานขึ้น เรื่องที่เราจะ นำเสนอวันนี้ขอนำเรื่องแม่พิมพ์อัดมานำเสนอก่อน ในส่วนของแม่พิมพ์นั้น ก็มีใช้กันหลายประเภท โดยแบ่งตามประเภท ของงานและความคุ้มค่าในการใช้งานของผู้สั่งทำ1. แม่พิมพ์อัดตัดสำหรับกล่องลูกฟูก แม่พิมพ์ประเภทนี้มีรูปทรงอยู่ 2 แบบ เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะงานที่ทำกับเครื่องจักร คือแบบราบและแบบโรตารี่1.1 แม่พิมพ์อัดตัดแบบราบ ( flat cuuting die) การทำจะเริ่มจากการฉลุฐาน ซึ่งส่วนใหญ่ นิยมใช้แผ่นไม้ ด้วยใบเลื่อย หรือ ลำเลเซอร์ แล้วจึงทำการฝังใบมีดลงในรอยที่ฉลุนั้น ข้อดีคือทำได้ง่าย เป็นที่นิยมทั่วไป ข้อเสียที่พบคือมีข้อจำกัดในเรื่องขนาดของแม่พิมพ์ ก็คือได้ไม่เกิน 1,100x1,600 ตร.มม. เนื่องจากตัวแม่พิมพ์ต้างใช้แรงกดสูง ทำให้ไม่สามารถอัดตัดแผ่นไม้ในขนาดที่ใหญ่กว่านี้ได้ ( ซ้าย)ข้อดีของแม่พิมพ์ไม้คือวัสดุหาไม่ยากอีกทั้งยังสะดวกในการทำงานมาก1.2 แม่พิมพ์อัดตัดแบบโรตารี่ ( rotary cutting die) ลักษณะของฐานจะโค้งตามโมยึด ขนาดหน้ากว้างขึ้นกับ ขนาดของเครื่อง ส่วนตัวแม่พิมพ์จะคล้ายกับแบบราบ ชนิดนี้เหมาะกับงานจำนวนมาก หรืองานที่มีขนาดใหญ่ เช่นกล่องใส่ทีวีหรือตู้เย็นเพราะทำงานได้รวดเร็ว ข้อเสียต้นทุนที่แพง รวมถึงความผิดพลาดที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้สูง2. แม่พิมพ์อัดตัดสำหรับกล่องพับ ลักษณะแม่พิมพ์นี้ส่วนใหญ่ผู้ประกอบการจะใช้แบบราบ ตามการออกแบบเครื่องจักร และยังแบ่งออกตามวัสด ุที่ใช้ทำฐานอีกด้วย 2.1 แม่พิมพ์อัดตัดฐานไม้ ( plywood cutting die) ลักษณะการทำงานเหมือนกับการทำแม่พิมพ์อัดกล่องลูกฟูก ข้อดีคือสามารถทำได้ง่ายและ สะดวกกว่าวิธีอื่นๆ 2.2 แม่พิมพ์อัดตัดฐานพลาสติกผสม วัสดุพลาสติกคิดค้นขึ้นด้วยเทคโนโลยีชั้นสูงที่มีคุณสมบัติพิเศษ คือสามารถใช้แรงดันน้ำ (water jet) ทำการฉลุแทนลำแสงเลเซอร์หรือใบเลื่อยได้ ทนทานแรงอัดได้ดี เหมาะสำหรับงานที่พิมพ์จำนวนมากๆ และงานพิมพ์ซ้ำ เพราะแม่พิมพ์มีการยืดหดตัวน้อย2.3 แม่พิมพ์อัดตัดฐานเหล็ก/เรซิน ( sandwich cutting die) วิธีการทำแม่พิมพ์ก็คือ การนำแผ่นเหล็กบาง 2 แผ่นทำการฉลุด้วยแสงเลเซอร์ หรือเทคโนโลยีแรงดันน้ำ จากนั้นนำมายึดให้ ห่างจากกันเท่ากับความหนาของแม่พิมพ์ทั่วไป แล้วทำการฝังใบมีดพร้อมกบัเสริมด้วยการ สอดไส้เรซินอิพอกซี ( epoxy) แม่พิมพ์ชนิดนี้มีข้อดีตรงความแม่นยำสูง ทนกับสภาพอากาศ ข้อเสียคือราคาที่แพง ( ซ้าย) ไม่มีชุดยางพวกนี้งาน Die-cut ก็ทำสำเร็จไม่ได้เหมือนกัน3. แม่พิมพ์อัดตัดสำหรับฉลาก เนื่องจากงานสิ่งพิมพ์ประเภทนี้ต้องการความละเอียดแม่นยำสูง ฐานแม่พิมพ์จะต้องทำจากวัสดุที่การยืดหดตัวน้อยที่สุด เช่น PVC เบเกไลท์ ( Bekelite) และเหล็ก เป็นต้น ลักษณะแม่พิมพ์มี 2 แบบ คือแบบราบ และโรตารี โดยแบบโรตารีจะเป็นแผ่นเหล็กบางสามารถนำไปพันรอบโมยึดได้และมีแรงแม่เหล็กด้วยยึดให้แน่นขึ้น9.ธุรกิจการพิมพ์และสื่อออนไลน์การผสานอนาคตวอลเตอร์ เบนเดอร์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสื่อของสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตต์ ( MIT) ได้ให้ความความเห็นว่า "กระดาษยังเป็นตัวแทนของการสื่อสาร" ในอนาคตแม้ว่าจะมีการใช้เทคโนโลยีทางการสื่อสารที่หลากหลายมากขึ้น แต่สุดท้ายสิ่งที่ผู้รับสารต้องการอ่านรายละเอียดทั้งหมด ก็จะต้องพิมพ์ข้อมูลเก็บลงกระดาษอยู่ดี นายวอลเตอร์ให้ความเห็น ในอนาคตการพิมพ์จะกลายเป็นการพิมพ์แบบส่วนบุคคลมากขึ้น ก็คือสื่อสิ่งพิมพ์จะกลายเป็นการพิมพ์ขึ้นตามความสนใจ ของแต่ละบุคคล แทนที่จะเป็นการพิมพ์ในจำนวนมาก ๆ เพื่อการค้าเช่นปัจจุบัน ต่อไปผู้บริโภคจะกลายเป็นผู้ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ตามที่ตนต้องการเองฮาราลด์ ไนด์ฮาร์ด CEO Cardrnine.com ได้เสริมความเห็นที่ว่า ผู้บริโภคจะใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อค้นหาข้อมูลสั้น ๆ และสามารถรับรู้ตอบโต้ได้ทันที เมื่อสนใจรายละเอียดก็จะพิมพ์ข้อมูลเก็บลงกระดาษไม่ได้สำคัญว่าใช้อะไร แต่ใช้แล้วประสบความสำเร็จไหมคือปัจจัยหลักรูดอล์ฟ ฟิชเชอร์ ประธานของ the C-Quential Inc. management consultant ออกความเห็นว่า การเลือกใช้สื่อที่ให้ตรงกับเป้าหมายธุรกิจจะกลายเป็นกุญแจแห่งความสำเร็จ " จะส่งข้อมูลได้เร็วแค่ไหนกับค่าใช้จ่ายที่ ต้องเสียเท่าไหร่" จะกลายเป็นปัจจัยชี้ว่าควรใช้เทคโนโลยีแบบไหน เพื่อให้ถึงมือผู้บริโภคได้เหมาะสมและเสียค่าใช้จ่ายที่ ถูกต้องที่ผู้บริหารองค์กรต่างๆ ต้องเอาใจใส่มากขึ้นเจ้าของสำนักพิมพ์จากนิวยอร์ค เจสัน แมคเคบ คาราคานิส เห็นว่าตอนนี้การนำเอาเทคโนโลยีบริการออนไลน์ นิตยสาร และ การประชุมทางไกลเข้ามารวมกันเพื่อเป็นสื่อชนิดใหม่เริ่มมีให้เห็นแล้ว โดยผู้บริโภคจะเป็นผู้เลือกใช้บริการ ช่องทางใดตามแต่ความต้องการของตัวเอง พร้อมทั้งให้ความเห็นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ว่า "ในบรรดาสื่อทั้งหมด สื่อสิ่งพิมพ์ ถือได้ว่าเป็นศิลปะแขนงหนึ่ง" "ในนิวยอร์ค การติดตามข่าวสารผ่านสื่อออนไลน์ถือว่าเป็นเรื่องปกติ ทำให้สื่อสิ่งพิมพ์ ประเภทหนังสือเติบโตสูงกว่าประเภทงานด้านกราฟิกไปโดยปริยาย"เบิร์นฮาร์ด เชรเออร์ สรุปการพูดคุยว่า ธุรกิจสิ่งพิมพ์ยังมีความเป็นไปได้ในการพัฒนาเพื่ออนาคต โดยเฉพาะเรื่อง ของความปลอดภัยในการรักษาความลับ สื่อสิ่งพิมพ์ยังมีจุดดีตรงนี้อยู่
เขียนโดย กาน ที่
12:38 ก่อนเที่ยง
0 ความคิดเห็น
ประวัติส่วนตัวของข้าพเจ้า
ชื่อนางสาวกรรณิการ์ แซ่ตั้ง เกิดวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.2529 อาศัยอยู่ที่บ้านเลขที่ 83/1 ม.5 ต.หนองพันจันทร์ อ.บ้านคา จ.ราชบุรี ข้าพเจ้าจบมาจากโรงเรียนบานคาวิทยา ตอนนี้ข้าพเจ้ากำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อยู่คณะวิทยาการจัดการ
คณะนิเทศศาสตร์ประชาสัมพันธ์ ปี3
8.โจทย์ในการออกแบบ
.....1.โจทย์แบบปิดแคบ (Close-ended)
คือ ปัญหาซึ่งต้องการคำตอบที่มีความชัดเจนเฉพาะหรือมีความ แปรเปลี่ยนหลากหลายได้น้อยเต็มที โจทย์มักมีลักษณะแคบ ละเอียดละออมีการกำหนดความต้องการอย่างแน่นอนตายตัว ตัวอย่าง โจทย์ที่ระบุให้ทำการออกแบบเป็นอุปกรณ์เพื่อให้ทำหน้าที่เฉพาะอย่าง เช่น เครื่องดูดฝุ่น ที่เหลาดินสอ กล่องใส่คอนแท็กต์เลนส์เป็นต้น
.....2. โจทย์แบบเปิดกว้าง (Open-ended)
คือปัญหาซึ่งต้องการคำตอบที่ยอมรับได้หรือเป็นไปได้หลายทางไม ่จำกัดหรือไม่มีเงื่อนไขตายตัว โจทย์ลักษณะกว้าง ๆ ไม่ระบุเฉพาะปัญหาใดปัญหาหนึ่ง ตัวอย่างปัญหาการดูแลสนามหญ้า ให้เรียบร้อยสวยงามอยู่เสมอ ถ้าเป็นโจทย์แบบปิดแคบจะกำหนดให้ทำการออกแบบเครื่องตัดหญ้า แต่ถ้าทำให้เป็นโจทย์ แบบเปิดกว้างจะเป็นการหาวิธีควบคุมความสูงของต้นหญ้าในสนาม ซึ่งทำให้มีความเป็นไปได้ที่จะใช้วิธีการต่าง ๆเช่น
1. การใช้สารเคมีในการควบคุมการเจริญเติบโตของต้นหญ้า
2. การใช้พันธุวิศวกรรมผสมผสานให้ต้นหญ้ามีความสูงจำกัด
3. การใช้เครื่องมือกลสำหรับตัดหญ้าซึ่งเป็นไปได้ตั้งแต่มีด กรรไกร และเครื่องตัดหญ้าโดยทั่วไปปัญหาแบบเปิดกว้างจะช่วยให้มีโอกาสสร้างสรรค์ หรือการคิดค้นให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ ได้มากกว่าปัญหา แบบปิดแคบแต่นักออกแบบจะสมารถทำงานดีเมื่อมีความเข้าใจปัญหาอย่างถ่องแท้ และโจทย์ควรมีการกำหนด อย่างละเอียด พอสมควรถึงลักษณะความต้องการเพราะจะช่วยให้ง่ายต่อการสร้างทางเลือกมากกว่าโจทย์ที่ลอย ๆ ไม่แน่นอน ดังนั้นเมื่อ ได้รับโจทย์ที่ไม่ชัดเจนในครั้งแรก นักออกแบบจำเป็นต้องหาวิธีทำให้เกิดความชัดเจนเพิ่มมากขึ้นทั้งจากผู้ให้โจทย์ จากการ ศึกษาข้อมูลและการเสนอแนะของนักแกแบบเองเป็นการเปลี่ยนจากโจทย์แบบเปิดกว้างในตอนแรก ให้กลายเป็นโจทย์ แบบปิด แคบลงเมื่อจะทำการออกแบบ หรืออาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า โจทย์หรือปัญหาที่ดีสำหรับการออกแบบควรมีลักษณะ ดังนี้
1. กระตุ้นท้าทาย (Challenging)
2. กว้างครอบคลุม (Open – ended)
3.กำหนดชัดเจน (Precise-definition
9.งานออกแบบกราฟฟิค
1. คิดแบบค้นพบ (Discovery)
เป็นการคิดที่ไอเดียใหม่ (Original Idea) หรือทฤษฎีใหม่ เช่น การค้นพบ ทฤษฎีแรงดึงดูดของโลกของ เซอร์ไอแซค นิวตัน หรือทฤษฎีสมดุลยภาพของ จอห์น แนช ซึ่งเป็นเรื่องยากที่คนทั่วไป จะคิดได้
2. คิดเชิงนวัตกรรม (Innovative )
เป็นการคิดประยุกต์ที่นำหลักการทางวิทยาศาสตร์มาผนวกให้เกิดคุณค่าใน การแก้ปัญหาที่มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น การประดิษฐ์ทวีขึ้นมา โดยนำหลักการเดินทางของคลื่นมาประยุกต์เป็นสิ่งประดิษฐ์
3. คิดเชิงสังเคราะห์ใหม่ (Synthesis)
เป็นความคิดที่นำสิ่งที่มีอยู่เดิมมารวบรวม หรือ “ ยำ ” ให้เกิดความ คิดที่สร้างเป็นสิ่งใหม่ขึ้นมา
4. คิดแบบดัดแปลง (Mutation)
เป็นการนำปัญหาที่มีอยู่มาผนวกกับสิ่งที่มีอยู่ในปัจจุบันแล้วเกิดการปรับเปลี่ยน คุณสมบัติของสิ่งที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นขนาด รูปร่าง รูปทรง เช่น ความคิดที่ จะนำเครื่องคอมพิวเตอร์ที่บ้านมาพกติดตัว เลยปรับขนาดกลายมาเป็นพ็อกเก็ตพีซี (Pocker PC) ในปัจจุบัน ในการออกแบบกราฟิกนั้นจะต้องใช้ความคิดในข้อที่ 3 และข้อที่ 4 มากที่สุด โดยความคิดที่ว่านี้จะใช้ในการคิดและผลิตงานออกแบบออกมาอย่างเป็นขั้นเป็นตอน
10.บรรทัดฐานในการออกแบบ
1. การตอบสนองประโยชน์ใช้สอย (Function)
เป็นข้อสำคัญมากในการออกแบบทั้งหมด ในงานออกแบบ กราฟิกนั้น ประโยชน์ใช้สอยมีอิทธิพลกับงานที่เราออกแบบ เช่น งานออกแบบหนังสือ ต้องอ่านง่าย ตัวหนังสือชัดเจนไม่วาง เกะกะ กันไปซะหมด หรืองานออกแบบเว็บไซต์ถึงจะสวยอย่างไร แต่ถ้าโหลดช้าทำให้ผู้ใช้งานต้องรอนาน ก็ไม่นับว่าเป็นงาน ออกแบบเว็บไซต์ที่ดี หรืองานออกแบบซีดีรอม ถ้าปุ่มที่มีไว้สำหรับกดไปยังส่วนต่าง ๆ ของเนื้อหานั้นวางเรียงอย่าง กระจัดกระจาย ทุกครั้งที่ผ้าใช้งานจะใช้ก็ต้องกวาดตามองหาอยู่ตลอด อย่างนี้ก็เรียกว่าเป็นการออกแบบที่ไม่สนอง ต่อประโยชน์ใช้สอย เป็นงานออกแบบไม่ดี ดังนั้นนักออกแบบจึงต้องคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอยเป็นเรื่องสำคัญอันดับแรก ในการออกแบบเสมอ
2. ความสวยงามพึงพอใจ (Aesthetic)
ในงานที่มีประโยชน์ใช้สอยดีพอ ๆ กัน ความงามจะเป็นเกณฑ์ตัดสิน คุณค่าของงาน โดยเฉพาะงานออกแบบกราฟิก ซึ่งถือเป็นงานอกแบบที่มีประโยชน์ใช้สอยน้อยกว่างานออกแบบด้านอื่น อย่าง งานออกแบบผลิตภัณฑ์ งานออกแบบสถาปัตยกรรมต่าง ๆ ฯลฯ ความสวยงามจึงเป็นเรื่องสำคัญและมีอิทธิพลในงาน ออกแบบกราฟิกอย่างมาก
3. การสื่อความหมาย (Meaning )
เนื่องจากงานศิลปะนั้นจะมีคุณค่าก็ต่อเมื่อมันสื่อความหมายออกมาได้ งาน กราฟิกก็คืองานศิลปะเช่นกัน การสื่อความหมายจึงเป็นสิ่งที่นักออกแบบขาดเสียไม่ได้ในการออกแบบ ต่อให้งานที่ได้สวยงาม อย่างไรแต่ไม่สามารถตอบโจทย์ของงานออกแบบ หรือสื่อสิ่งที่ผู้ออกแบบคิดเอาไว้ได้ งานกราฟิกนั้นก็จะมีคุณค่าลดน้อย ลงไป11.ขบวนการทำงานออกแบบ
1. วิเคราะห์โจทย์ ที่มีมาให้แก้ไข (Program Analysis)จุดเริ่มต้นของงานออกแบบ คือ ปัญหา เมื่อมีปัญหา มีโจทย์ จึงมีการออกแบบแก้ไขซึ่งโจทย์ที่ว่านั้นมีความยากง่าย ต่างกันแล้วแต่ชนิดของงาน แต่โจทย์ไม่มีทางออกแบบได้ ถ้าปราศจากการวิเคราะห์หลัก ๆ สำหรับโจทย์งานกราฟิกมักจะ เป็นดังนี้What เราจะทำงานอะไร ? กำหนดเป้าหมายของงานที่จะทำ ซึ่งเป็นเรื่องเบื้องต้นในการออกแบบที่เราจะต้อง รู้ก่อนว่า จะกำหนดให้งานของเราบอกอะไร (Inform) เช่นเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ บอกทฤษฎี หรือหลักการ เพื่อความบันเทิง เป็นต้นWhere งานของเราจะนำไปใช้ที่ไหน ? เช่น งานออกแบบผนังร้านหนังสือที่สยามสแควร์ที่เต็มไปด้วยร้านค้า แหล่งวัยรุ่น คงต้องมีสีสันฉูดฉาดสะดุดตามากกว่าร้านแถวสีลมซึ่งสถานที่ในเขตคนทำงาน ซึ่งมีอายุมากขึ้นWho ใครคือคนที่มาใช้งาน ? หรือกลุ่มผู้ใช้งานเป้าหมาย (User Target Group) เป็นเรื่องสำคัญที่สุดในการ วิเคราะห์โจทย์เพื่อการออกแบบ เพราะผู้ใช้งานเป้าหมายอาจเป็นตัวกำหนดแนวความคิดและรูปลักษณ์ของงานออกแบบได้ เช่น งานออกแบบโปสเตอร์สำหรับผู้ใหญ่ เราต้องออกแบบโดยใช้สีจำนวนไม่มากไม่ฉูดฉาด และต้องใช้ตัวอักษรที่มี ขนาดใหญ่ รวมถึงการจัดวางอย่างเรียบง่ายมากกว่าผู้ใช้ในวัยอื่น ๆHow แล้วจะทำงานชิ้นนี้อย่างไร ? การคิดวิเคราะห์ในขึ้นสุดท้ายนี้อาจจะยากสักหน่อยแต่เป็นการคิดที่รวบรวม การวิเคราะห์ที่มีมาทั้งหมดกลั่นออกมาเป็นแนวทาง2.สร้างแนวคิดหลักในการออกแบบให้ได้ (Conceptual Design)งานที่ดีต้องมีแนวความคิด (Concept) แต่ไม่ได้หมายความว่างานที่ไม่มีแนวความคิดจะเป็นงานที่ไม่ดีเสมอไป งานบางงานไม่ได้มีแนวความคิด แต่เป็นงานออกแบบที่ตอบสนองต่อกฎเกณฑ์การออกแบบ (Design Criteria) ที่มี อยู่ก็เป็นงานที่ดีได้เช่นกัน เพียงแต่ถ้าลองเอางานที่ดีมาว่างเทียบกัน
2 ชิ้น อาจจะไม่รู้สึกถึงความแตกต่างอะไรมากมายนัก ในตอนแรก แต่เมื่อเรารู้ว่างานชิ้นที่หนึ่งมีแนวความคิดที่ดี ในขณะที่อีกชิ้นหนึ่งไม่มี งานชิ้นที่มีแนวความคิดจะดูมีคุณค่า สูงขึ้นจนเราเกิดความรู้สึกแตกต่าง
3. ศึกษางานหรือกรณีตัวอย่างที่มีอยู่แล้ว (Case Study)การศึกษากรณีตัวอย่าง เป็นการวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียของงานที่มีอยู่แล้ว เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ออกแบบในงานต่อไป ดังนั้นการทำกรณีศึกษานับเป็นเรื่องสำคัญมากทีเดียวในงานออกแบบ เพราะเปรียบเสมือนตัวชี้แนะหนทางในการออกแบบ หรือแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ต่อไป แต่จงระวังว่าอย่าไปติดกับรูปแบบที่ชื่นชอบมาก เพราะอาจจะทำให้ติดกับกรอบ ความคิดติดกับภาพที่เห็นจนบางครั้งไม่สามารถสร้างสรรค์งานใหม่ ๆ ออกมาได้ ซึ่งการติดรูปแบบหรือภาพมากเกินไป นี้เอง อาจจะซึมซับมาสู่งานต่อไป จนกลายเป็นการตบแบบหรือลอกแบบชาวบ้านนั่นเอง
4. งานออกแบบร่าง (Preliminary Design)การออกแบบร่างเป็นเรื่องสำคัญที่หลายคนมักมองข้าม การออกแบบร่าง คือ การออกแบบร่างเอาแนวความคิดที่มี ออกมาตีความเป็นแบบ ซึ่งส่วนใหญ่เวลาทำงานมักจะต้องสเก็ตงานด้วยมือออกมาเป็นแบบร่างก่อน เพราะการสเก็ตจากมือ คือการถ่ายทอดสิ่งที่อยู่ในสมอง ให้เห็นสิ่งที่เป็นนามธรรมออกมาแบบเป็นรูปธรรม ความคิดออกมาจากสมองกลายเป็นสิ่งที่ เห็นได้จับต้องได้บนกระดาษ การสเก็ตด้วยมืออาจไม่ได้สวยอะไรมาก แต่ทำให้สามารถเข้าใจได้คนเดียวหรือเพื่อนที่ ร่วมงานเข้าใจร่วมกันได้ ซึ่งสิ่งที่สเก็ตนี้ถือว่าแบบร่างที่จะนำไปทำต่อไป
5. ออกแบบจริง (Design)การออกแบบจริงนั้นเป็นการพัฒนาจากแบบร่างที่มีอยู่ ที่ผ่านการคัดเลือกแล้วที่จะนำไปผลิตต่อไป แล้วแต่คามถนัด ของคนออกแบบแต่ละคน ซึ่งอาจจะเป็นการใช้ Freehand หรือนำไปออกแบบในโปรแกรมที่ตนถนัด ไม่ว่าจะเป็น Photoshop IIIustrator Coreldraw ฯลฯ
รูปฉัน
การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์
1.ความหมายของการออกแบบ
1.1 การออกแบบ หมายถึง การถ่ายทอดรูปแบบจากความคิดออกมาเป็นผลงาน ที่ผู้อื่น สามารถมองเห็น รับรู้ หรือสัมผัสได้ เพื่อให้มีความเข้าใจในผลงานร่วมกัน
1.2การออกแบบ หมายถึง การรู้จักวางแผนจัดตั้งขั้นตอน และรู้จักเลือกใช้วัสดุวิธีการเพื่อทำตามที่ต้องการนั้น โดยให้สอดคล้องกับลักษณะรูปแบบและคุณสมบัติของวัสดุแต่ละชนิดตามความคิดสร้างสรรค์ และการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้นมา
1.3การออกแบบ หมายถึง การปรับปรุงแบบ ผลงานหรือสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่แล้วให้เหมาะสมมีความแปลกใหม่ขึ้น
2.ความหมายของสื่อสิ่งพิมพ์
2.1 สื่อสิ่งพิมพ์ หมายถึงหนังสือและเอกสารสิ่งพิมพ์ต่างๆที่แสดงหรือเรียบเรียงสาระความรู้ต่างๆโดยใช้ตัวหนังสือที่เป็นตัวเขียนหรือตัวพิมพ์เป็นสื่อในการแสดงความหมาย สื่อสิ่งพิมพ์มีหลายชนิด ได้แก่ เอกสาร หนังสือเรียน หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร บันทึกรายงาน ฯลฯ
2.2 สื่อเทคโนโลยี หมายถึง สื่อการเรียนรู้ที่ผลิตขึ้นใช้คู่กับเครื่องมือโสตทัศนวัสดุ
คลังบทความของบล็อก
▼
2007
(5)
▼
กันยายน
(5)
บทที่ 4 ระบบการพิมพ์
บทที่ 3 โปรแกรมสำหรับสิ่งพิมพ์
บทที่ 2 ความคิดสร้างสรรค์
ไม่มีชื่อ
การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
เกี่ยวกับฉัน
กาน
ต.หนองพันจันทร์ อ.บ้านคา จ.ราชบุรี, จ.ราชบุรี, Thailand
นางสาวกรรณิการ์ แซ่ตั้ง ศศ.3 นิเทศสาตร์ (ประชาสัมพันธ์)ที่อยู่ 83/1 ม.5 ต.หนองพันจันทร์ อ.บ้านคา จ.ราชบุรี 70180
ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน
รูปภาพ offset
1 ความคิดเห็น:
ใส่เนื้อหาที่เรียนมาเพิ่มอีกมาก ๆ เลย
แสดงความคิดเห็น